ยุทธศาสตร์บูรณาการเชิงพุทธเพื่อสร้างสังคมปลอดยาเสพติดในประเทศไทย

Main Article Content

นิภาภัทร อยู่พุ่ม
พระมหาปัญญาวรวัฒน์ สิริภทฺโท
พระครูปริยัติธรรมวงศ์
ประพันธ์ นึกกระโทก
เสนาะ กลิ่นงาม

Abstract


               วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาองค์ความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ รูปแบบและกระบวนการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการสร้างสังคมปลอดยาเสพติดตามหลักพระพุทธศาสนาในภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการศึกษาพบว่า นิยามองค์ความรู้ คือ “การผสมผสานวิชาการทางโลกทุกแขนงวิทยาการและพุทธธรรมเพื่อหาวิธีการให้บุคคลรู้จักใจในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุขตามสภาพตนเองโดยมีภูมิคุ้มกันทางจิตใจที่จะป้องกัน หลีกเลี่ยง ปฏิเสธ ลด ละ เลิก ยาเสพติด” กระบวนการจัดการความรู้เกี่ยวกับการสร้างสังคมปลอดยาเสพติดตามหลักพระพุทธศาสนา ยึดหลักการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมแก้ไขปัญหา ร่วมรับผิดชอบ และร่วมตรวจสอบ โดยอาศัยพลังแห่งศรัทธา พลังแห่งปัญญา และ พลังแห่งคุณค่า ในภาคเหนือ มี 4 รูปแบบ ได้แก่ 1. รูปแบบการสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว 2. รูปแบบการให้ความรู้เกี่ยวกับหลักธรรมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด 3. รูปแบบการวางกฎกติกาของชุมชน และ 4. รูปแบบการจัดโครงการกิจกรรม ภาคใต้ ได้แก่ “รูปแบบประชารัฐร่วมใจต้านภัยยาเสพติด” โดยยึดหลักการ “เข้าใจ เข้าถึง และการพัฒนา” ภาคกลาง ได้แก่ “รูปแบบประชาสังคม” ที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ “รูปแบบ บ้าน วัด โรงเรียน (บ-ว-ร)”


 


            Research Objectives to study the knowledge. Knowledge management model, form and process of community empowerment to create drug-free societies based on Buddhism in the North, South, Central and Northeast.The study found that the definition of knowledge is the integration of all the worlds of science and Buddhism to find a way for people to know how to live happily according to their own condition, with psychological immunity to prevent drug abuse. "The process of knowledge management about creating a drug-free society. Co-operative thinking, decision making, problem solving Take responsibility And co-investigate By the power of faith. Power of Wisdom and Power of Values.In the North, there are 4 types: 1. Family relationship patterns 2. Patterns of knowledge about the principles of drug problem solving 3. Forms of community rules And 4. the model is a project activity.The South is “the Pracharatmodel”, based on "understanding, access and development",The central part is the "civil society model" which focuses on the participation of all sectors: Banpakjai (Saraburi) and in the north eastern Region was “the model of villages–monasteries–schools.”


Article Details

How to Cite
อยู่พุ่ม น. ., สิริภทฺโท พ. . ., พระครูปริยัติธรรมวงศ์, นึกกระโทก ป. . ., & กลิ่นงาม เ. . . (2018). ยุทธศาสตร์บูรณาการเชิงพุทธเพื่อสร้างสังคมปลอดยาเสพติดในประเทศไทย. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 5(1), 241–258. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/243769
Section
Research Article

References

แผนปฏิบัติการป้องกัน. (2558). แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปี 2558. อ อ น ไ ล น์ . แ ห ล่ ง ที่ ม า :http://ebcitrade.com/page.php? a=10&n=61&cno=253. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2558. จรัส ลีกา และคณะ. (2560). รูปแบบและกระบวนการสร้างความเข้มแข็งของบ้าน วัด โรงเรียนในการจัดการปัญหายาเสพติดแนวพุทธของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. อยุธยา : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
บัณฑร อ่อนด า และคณะ. (2539). รูปแบบการแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่โดยเน้น บทบาท ชุมชนและระบบกลไกของรัฐและองค์กรพัฒนาเอกชนที่เอื้ออํานวยต่อ การแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน : กรณีศึกษากรุงเทพและภาคกลาง. รายงาน วิจัย. กรุงเทพมหานคร : ส านักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามยา เสพติด. พีระศิลป์ บุญทอง ประสิทธิ์ รักนุ้ย และ วนิดา เหมือนจันทร์. (2560). รูปแบบและ กระบวนการสร้างสังคมปลอดยาเสพติดตามหลักพระพุทธศาสนาในภาคใต้. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. อยุธยา : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ภูริวัจน์ ปุณยวุฒิปรีดา และคณะ. (2560). การวิเคราะห์รูปแบบ กระบวนการ และ ยุทธศาสตร์การสร้างสังคมปลอดยาเสพติดตามหลักพระพุทธศาสนาในภาคกลาง : บ้านพักใจ สระบุรี. รายงานการวิจัยฉบับสมบรูณ์. อุยุธยา : มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รุ่งทิพย์ กล้าหาญ และนายบรรชร กล้าหาญ, “กระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติดด้วยหลักพุทธธรรม ในหมู่บ้านป่าไผ่ ต.แม่โป่ง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่”, รายงานการวิจัย (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่, 2552), หน้า บทคัดย่อ. . . (2556). กระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยหลักพุทธธรรมใน หมู่บ้านป่าไผ่ ตําบลแม่โป่ง อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. รายงานการวิจัย ฉบับสมบูรณ์. อุยุธยา : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย. วีรวัฒน์ เต็งอ านวย (2555). ประสบการณ์จากการแก้ไขปัญหายาเสพติดในภาคตะวันออก” ใน 10 ชุมชนต้นแบบภาคตะวันออก : กรณีศึกษาประชาคมชุมชนเข้มแข็งในการ จัดการกับปัญหายาเสพติด. กรุงเทพมหานคร : ส านักงานคณะกรรมการป้องกัน ปราบปรามยาเสพติด. สมบูรณ์ ธรรมลังกา. (2556). รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นเป็นฐาน ในจังหวัดเชียงราย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 15, (2) 58-66.
สหัทยา วิเศษ และคณะ. (2560). รูปแบบและกระบวนการสร้างสังคมปลอดยาเสพติดตาม หลักพระพุทธศาสนาในภาคเหนือ. รายงานวิจัย ครั้งที่ 1. อยุธยา : สถาบันวิจัย พุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ส านักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม. (2560). แผนประชารัฐร่วมใจ สร้างหมู่บ้าน/ชุมชน มั่นคง ปลอดภัยยาเสพติด พ.ศ. 2559–2560 สู่วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน. ออนไลน์. แหล่งที่มา : https://www.oncb.go.th/Home/Publishing Images/.../Pracharat_plan%202559-2560.pd,. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2560. ส านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (2560). คู่มือการจักกิจกรรม ต่อต้านยาเสพติด. ออนไลน์. แหล่งที่มา :