ความเป็นวิทยาศาสตร์ของสังคมศาสตร์ : บทวิเคราะห์จากปรัชญาวิทยาศาสตร์ของคาร์ล ปอบเปอร์

Main Article Content

เด่นพงษ์ แสนคำ

Abstract

               บทความนี้ต้องการนำเสนอว่า วิธีการหาความรู้ของสังคมศาสตร์ที่มีแนวคิดว่าเป็นวิทยาศาสตร์นั้น แท้จริงแล้วมีความเป็นวิทยาศาสตร์หรือไม่ โดยวิธีการศึกษาในบทความนี้จะเป็นการวิจารณ์ทัศนะของปรัชญาปฏิฐานนิยมที่เชื่อว่าสังคมศาสตร์มีวิธีการศึกษาเช่นเดียวกับวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะใช้แนวคิดทางปรัชญาของนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ก็คือคาร์ลปอบเปอร์เป็นแนวการวิเคราะห์ จากการวิเคราะห์สามารถสรุปได้ว่าปรัชญาปฏิฐานนิยมมีทัศนะที่ตรงข้ามกับปรัชญาวิทยาศาสตร์ของคาร์ล ปอบเปอร์ อยู่สองทัศนะหลัก ๆ คือ สำนักปฏิฐานนิยมเชื่อว่า 1) องค์ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริงต้องสังเกตได้เชิงประจักษ์เท่านั้น 2) การปฏิเสธอภิปรัชญาและความรู้ก่อนประสบการณ์ แต่ปรัชญาวิทยาศาสตร์ของปอบเปอร์อธิบายว่าความรู้ไม่จำเป็นต้องมาจากการอุปนัย แต่ความรู้ในทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นทฤษฎีมาจากการนิรนัยทั้งสิ้นและนำไปสู่การยอมรับอภิปรัชญาและความรู้ก่อนประสบการณ์ ดังนั้นสังคมศาสตร์ที่อาศัยแนวคิดปฏิฐานนิยม เมื่อวิเคราะห์ด้วยปรัชญาวิทยาศาสตร์ของคาร์ล ปอบเปอร์ แล้วก็จะพบว่าไม่มีความเป็นวิทยาศาสตร์เลย และการศึกษาสังคมศาสตร์ตามแนวคิดของปฏิฐานนิยมเป็นตัวการทำให้สังคมศาสตร์มีแนวคิดที่ผิดไปจากการศึกษาที่ควรจะเป็น บทความนี้เสนอแนะไว้ว่าสังคมศาสตร์ที่ควรจะเป็นคือสังคมศาสตร์ตามแนวคิดของสำนักสัจนิยม


 


           This article needs to be presented the approach of analyzing the knowledge of the social sciences, which is derived from the real scientific process as claimed or by other scientific disciplines. It focuses on the criticism of the antisocialist philosophy, which believes that the social sciences have the same educational approach as science. The philosophical ideas of the philosophers of science are the basis of analysis. It is Karl Popper. From the analysis, it can be concluded that there are two main different ideas between Karl Popper's Philosophy of Science and positivism. For example: 1. Knowledge of the facts must be substantiated. 2. The impenetrable metaphysics and knowledge former experiences. As a consequence of Popper’s Philosophy of Science that inessential knowledge from experiences, but in case of theory of science all originate deductive leads to acceptance metaphysics and deduction. Therefore, social sciences depend on positivism concept. In return, analyzing the social sciences with Popper’s Philosophy of Science has no any Science. Moreover, the study of the social sciences, according to positivism, is the head that leads to falsity of the study should be. Hence, this article suggests that the social sciences should be based on the concept of the realism.

Article Details

How to Cite
แสนคำ เ. . (2018). ความเป็นวิทยาศาสตร์ของสังคมศาสตร์ : บทวิเคราะห์จากปรัชญาวิทยาศาสตร์ของคาร์ล ปอบเปอร์. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 5(1), 1–17. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/243749
Section
Academic Article

References

กีรติ บุญเจือ. (2522). แก่นปรัชญาปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช. จินดารัตน์ โพธิ์นอก. (2553). ปฏิฐานนิยม. ออนไลน์. แหล่งที่มา: http://www.royin.go.th/?knowledges=ปฏิฐานนิยม-5-กุมภาพันธ์. สืบค้นเมื่อ 16 มกราคม 2561. ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2547). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ 2. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย รามค้าแหง. ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2556). ภาษากับการเมืองและความเป็นการเมือง, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วิภาษา. พระวราวุฒิ มหาวีโร. (2559). การปฏิบัติงานตามหลักทศพิธราชธรรมขององค์การบริหาร ส่วน ต้าบลเขวา ทุ่งอ้าเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬา ขอนแก่น, 3 (2), 27 – 40. ลิวอิส เอ. โคเซอร์. (2537). แนวความคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยา ตอน ออกัสต์ กองต์. แปล จาก Masters of Sociological Thought: Ideas in Historical and Social Context. แปลโดย จามะรี พิทักษ์วงษ์ . กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. (2553). การแสวงหาความรู้ทางสังคมศาสตร์ : เปรียบเทียบระหว่าง แนวปฏิฐานนิยม แนวปรากฏการณ์นิยม และแนวสัจนิยม. วารสารการเมือง การ บริหาร และกฎหมาย, 2(1), 1-70. สาธิต มนัสสุรกุล. (2552). แนวทางการศึกษารัฐศาสตร์ : ค้าตอบอยู่ที่สัจนิยม. วารสาร สังคมศาสตร์, 40(2), 189 – 219. สุมาลี ไชยศุภรากุล. (2558). กระบวนทัศน์ในการวิจัยทางสังคมศาสตร์. วารสารจันทรเกษม, 21(40), 1-8.
สุรีย์ สุวรรณปรีชา. (2520). ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีความรู้และทฤษฎีการเมืองของปอบ เปอร์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาปรัชญา. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Bryon Magee. (1973). Modern British Philosophy. Herts: Granada Ltd. C. G. Hempel. (1966). Philosophy of Natural Science. Princeton: Prentice Hall. Jonathon W. Moses and Torbjom L. Knutsen. (2007). Way of Knowing. New York: Palgrave Macmillan. Karl Popper. (1959). The Logic of Scientific Discovery. London: Hutchinson. M. and Rhodes, R. A. Bevir. (2002). Interpretive theory. In David Marsh and Gerry Stoker, (ed.) Theory and Method in Political Science. New York: Palgrave Macmillan. Mark E. Kann. (1980). Thinking about politics: Two Political Sciences. St. Paul, Minn.: West Publishing Company. Richard Rorty. (2009). Philosophy and the Mirror of Nature. Princeton: Princeton University Press. Song Choo Beng and Senior Lecturer. (2016). Buddhist Economics - An Ethical Remedy For The Prevailing Neoclassical Economics. Journal of Buddhist Education and Research, 2(2), 42 – 48. William Outhwaite. (1999). The Philosophy of Social Science. In Bryan S. Turner, (ed.) The Blackwell Companion to Social Theory. Oxford: Blackwell.