หลักพุทธธรรมในการบริหารรัฐกิจ

Main Article Content

กฤษณวรุณ ไชยนิจ

Abstract

                บทความนี้ มีวัตถุประสงค์  เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารรัฐกิจในคัมภีร์พระพุทธศาสนา และการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในการบริหารรัฐกิจ ผลการดำเนินการตามหลักธรรมที่ใช้ในการบริหารรัฐกิจ คือ  หลักสัปปุริสธรรม 7 หลักสังคหวัตถุ  4 และหลักอิทธิบาท 4 เป็นคุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย การบริหารรัฐกิจนั้น หลักสำคัญในการบริหารคือต้องรู้จักครองตน ครองคน และครองงาน เพื่อให้การบริหารรัฐกิจเป็นไปได้ด้วยความเรียบร้อย และอำนวยประโยชน์สุขแก่ประชาชน


 


              This article is intended. To study the government administration model in the Buddhist scriptures. And the application of Buddhist principles to the administration found that the principles used in the administration of the government is the seven Suppurisa-dhamma, Sanghahavatthu 4 and Iddhipāda 4 is the virtue leading to the achievement of the intended result. Administration The key to management is to know how to dominate and dominate the workforce so that the administration is possible. And benefit the people.

Article Details

How to Cite
ไชยนิจ ก. . . (2017). หลักพุทธธรรมในการบริหารรัฐกิจ. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 4(2), 110–119. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/243748
Section
Academic Article

References

พระธรรมปิฎก ป.อ.ปยุตฺโต. (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. . (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ. ปยุตฺโต. (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จํากัด. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ศรีศักร วัลลิโภดม และสุจิตต์ วงษ์เทศ. (2533). วิวัฒนาการของวัฒนธรรมจากมิติทาง ประวัติศาสตร์และโบราณคดีสู่ความเข้าใจวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้ง.