การบูรณาการหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาชุมชน

Main Article Content

สุภัฐวิทย์ ธารชัย

Abstract

                บทความทางวิชาการนี้  มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบูรณาการหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาชุมชน ก็คือ การพัฒนาคนตามหลักไตรสิกขา คือ พัฒนาคนให้ศีล มีระเบียบวินัยในการดำเนินชีวิตอย่างน้อยที่สุดก็จะต้องมีศีล 5 อันเป็นพื้นฐานของมนุษยธรรมสำหรับชาวพุทธทุกคน มีสมาธิ (ความตั้งใจมั่นและมีสุขภาพจิตที่ดี) และปัญญา (ความรอบรู้ ความสามารถในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างลงตัว และไม่สร้างเงื่อนไขหรือปัญหาให้เพิ่มขึ้นแก่ตนเองและชุมชน นอกจากนั้น ผู้นำชุมชน และประชาชนในชุมชน ก็จะต้องมีวิธีการใช้หลักพุทธธรรม ซึ่งมีความจำเป็นต่อการแก้ปัญหาสังคมไปปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมแก่ตน 


 


              This article aims to study the integration of Buddhist principles for community development, namely, the development of the threefold principles of human development. The discipline of living, at the very least, is the five basic principles of humanity. For all Buddhists, there is concentration (good intentions and good mental health) and wisdom (wisdom, ability to solve problems. Perfectly In addition, community leaders and people in the community do not create conditions or problems for themselves and the community. There must be a way to use Buddhist principles. It is necessary to solve social problems

Article Details

How to Cite
ธารชัย ส. . (2017). การบูรณาการหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาชุมชน. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 4(2), 86–97. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/243746
Section
Academic Article

References

ธีระวุฒิ อรุณเวช. (2544). กระบวนการพัฒนาสังคมสู่ความอยู่เย็นเป็นสุขในระดับพื้นที่บน ฐานพุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์. พระธรรมปิฏก ป.อ. ปยุตฺโต. (2539). ความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจํา ชาติ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สหธรรมิก จํากัด. . ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง. (2538). (พิมพ์ครั้งที่ 30). กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธ ธรรม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย .