พุทธวิธีกับการแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว

Main Article Content

พระมหาเกรียงศักดิ์ ธมฺมวิจาโร

Abstract

             บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรม และแนวคิดทฤษฎีเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวสังคมไทยปัจจุบัน ส่วนหลักพุทธธรรมสำหรับแก้ปัญหา หรือเยียวยาปัญหาความขัดแย้งของครอบครัวนั้น มีพื้นฐานมาจากพฤติกรรมของมนุษย์โดยรวม 3 ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ  ต้องแก้ด้วยหลักธรรมสัมมาทิฏฐิ ตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ก็คือการที่สมาชิกแต่ละคนต่างลงมือประพฤติปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ของตนให้ดี ถูกต้องและสมบูรณ์ตามแนวทางพระพุทธศาสนานั่นเอง หากทุกคนได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ ก็จะช่วยให้ชีวิตในครอบครัวมีความอบอุ่น มีความราบรื่น และเป็นสุข  โดยมีความเข้าใจและความไว้วางใจซึ่งกันและกัน ครอบครัวก็จะมีความสงบสุข มีความเจริญรุ่งเรืองและมั่นคงถาวรตลอดไป


 


               This article aims to study Buddhist principles. And theoretical concepts for solving conflicts in Thai contemporary family families. The Buddhist Principles for solving problems. Or heal the conflict of the family. It is based on human behavior, including the three ways, physical, verbal and mental, must be solved by the principle of righteousness. According to the Three Senses, the precept of meditation is the way in which each member behaves in the proper way. Accurate and complete in accordance with Buddhism. If everyone has fulfilled their duties. It will help keep family life warm. It is smooth and happy with mutual understanding and trust. Family will have peace. It is prosperous and stable forever.

Article Details

How to Cite
ธมฺมวิจาโร พ. . . (2017). พุทธวิธีกับการแก้ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 4(2), 74–85. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/243745
Section
Academic Article

References

ณรงค์ เส็งประชา. (2541). มนุษย์กับสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริ้น ติ้ง เฮ้าส์. บรรเทิง พาพิจิตร. (2547). สังคมวิทยา. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. พระครูนิภาสธรรมาธิมุต. (2553). “การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวตามหลักธรรม ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระธรรมกิตติวงศ์ ทองดี สุรเตโช. (2551). 108 เรื่องเล่าแฝงคติความคิด เพื่อการดําเนิน ชีวิตที่งดงาม กิร ดังได้สดับมา. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภาและสถาบัน บันลือธรรม. พระสุพัฒน์ อนาลโย. (2556). การนําความซื่อสัตย์มาใช้เสริมสร้างความเข้มแข็ง.วิทยานิพนธ์ พุทศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณรา วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย