อายตนะในฐานะสื่อแห่งสันติภาพ

Main Article Content

ศศิธร เวียงวะลัย

Abstract

                บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอายตนะในฐานะสื่อแห่งสันติภาพ พบว่าเป็นเครื่องมือสร้างปัญญาเพื่อที่จะให้รู้จักใช้อายตนะอันจะนำไปสู่ความดับทุกข์ซึ่งเป็นปัญหาที่สัตว์โลกต้องเผชิญกันอยู่อย่างแท้จริง  และหากไม่มีการฝึกฝนอบรมให้เข้าใจและปฏิบัติในเรื่องอายตนะอย่างถูกต้องแล้ว ตามปกติมนุษย์จะถูกชักจูงล่อให้ดำเนินชีวิตในทางที่มุ่งเพื่อเสพเสวยโลก เที่ยวทำการต่างๆ เพียงเพื่อแสวงหารูป  เสียง  กลิ่น  รส โผฏฐัพพะ ที่ชอบใจและความสนุกสนานบันเทิงต่างๆ  มาปรนเปรอตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย และใจอยากของตน พอกพูนความ โลภ โกรธ หลง แล้วก่อให้เกิดความวุ่นวายเดือดร้อนทั้งแก่ตนและผู้อื่น ฯลฯ พระพุทธศาสนาเป็นความหวังสุดท้ายที่จะนำพาวิถีอารยธรรมไปสู่การพัฒนาสันติภาพ โดยเริ่มที่การพัฒนาบุคคลให้หลีกเว้นจากการเบียดเบียนซึ่งกันและกันด้วยกาย วาจา ใจ มีท่าทีปรารถนาดีต่อกัน ด้วยไมตรีจิตมิตรภาพ มีความมุ่งมั่นสู้ปัญหา และมีปัญญาใคร่ครวญไตร่ตรองให้รอบด้านในการที่จะทำการทั้งหลาย โดยตระหนักว่าไม่ทำลายตน สังคม และสภาพแวดล้อมโดยใช้อายตนะเพื่อสร้างสันติภาพนั่นเอง


            This article is intended to study Ayatana as a medium of peace. It is found to be a tool to create intelligence to use Ayutthaya, which leads to the suffering of suffering, which is the problem that the animal world has to face. And if there is no training to understand and practice in righteousness, then. As usual, humans are being tempted to live in a way that is geared toward consuming the world. Holidays Only to seek the sound, taste, rhythms, pleasures and pleasures of entertainment, to pamper your eyes, ears, nose, tongue, body and mind, embellish greed, anger, and cause chaos both for themselves and others, etc. Buddhism is. The last hope is to lead the path of civilization towards peace. By starting the development of the individual to avoid the persecution of each other with a body of speech, a good attitude towards each other. Friendship with friendship Have a commitment to the problem. And reflect on the wisdom to reflect around to do all. By realizing that it does not destroy its own society and its environment by using peaceful means to create peace itself.

Article Details

How to Cite
เวียงวะลัย ศ. (2017). อายตนะในฐานะสื่อแห่งสันติภาพ. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 4(2), 51–63. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/243743
Section
Academic Article

References

ปิ่น มุทุกันต์. (2534). ประมวลศัพท์ 6 ศาสนา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สารมวลชน. พระธรรมปิฎก ป.อ.ปยุตฺโต.(2537). สันติภาพเกิดจากอิสรภาพและความสุข. กรุงเทพมหานคร : สหธรรมิก. พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตฺโต. (2548). มองสันติภาพโลกผ่านภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิ วัตน์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: พิมพ์สวย. พุทธทาสภิกขุ, (2548). ฟ้าสางระหว่าง 50 ปีที่มีสวนโมกข์ เล่ม 2. สุราษฏร์ธานี: ธรรมทาน มูลนิธิ. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. รุ่งธรรม ศุจิธรรมรักษ์. (2535). เอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมมนุษย์และจริยธรรมทาง ธุรกิจ เล่ม 2. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Martínez Guzmán, (2001). Filosofia para hacer las paces. Bacelona. Icaria editorial. Phrapalad Somchai Payogo andother (2017). The Noble Eightfold Path Conceptualization for Peaceful World. Journal of Buddhist Education and Research, 3 (1), 38-44.