ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้สูงอายุไทย
คำสำคัญ:
การทำงาน, ผู้สูงอายุไทย, แรงงานสูงอายุบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้สูงอายุไทย โดยงานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยใช้ชุดข้อมูลจากการสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2564 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เป็นเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างของงานวิจัย ได้แก่ ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 43,547 คน การวิเคราะห์ใช้ Probit Regression Model ผลการศึกษาพบว่า การเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัย สถานภาพการสมรส สุขภาพร่างกาย อายุ การเข้าร่วมกิจกรรม รายได้ หนี้สิน และความพอใจในภาวะการเงิน ส่งผลต่อการทำงานของผู้สูงอายุไทย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในขณะที่ ระดับการศึกษา (ต่ำกว่าระดับประถมศึกษา/ประถมศึกษา และการศึกษาอื่น ๆ) และการออม (การออม 100,000-199,999 บาท และ การออม 1,000,000 บาท ขึ้นไป) ไม่ส่งผลต่อการทำงานของผู้สูงอายุไทย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
กิตติธัช พันธุ์เปรม. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าทำงานบริษัทค้าปลีกของ Generation Z ในประเทศไทย. สารนิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.
ชโลทร มานะเกษม. (2565). การตัดสินใจเลือกทำงานกับสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ของบุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ส่วนกลาง. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ฐิรญาดา จันทพล. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกที่ทำงานของพนักงานองค์กรเอกชน ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
นิตยา ชื่นอารมณ์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกสมัครงานกับบริษัทญี่ปุ่นในเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ: กองสถิติสังคม สํานักงานสถิติแห่งชาติ.
อัมภิณี ลาภสมบูรณ์ดี. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 42(3), หน้า 18-33.
Al-Hendawi, M., Thoma, A.C., Habeeb, M.H., & Khair, S.M. (2022). Emerging Themes on Factors Influencing Career and Employment Decisions: Voices of Individuals with Disabilities from Four Gulf Countries. Social Sciences, 11(8), pp. 1-18.
Borjas, G.J. (2013). Labor economics. NY: McGraw-Hill/Irwin.
Chen, J., & Chuang, C.H. (2012). Phased Retirement for Older Workers in Taiwan. Journal of Family and Economic Issues, 33(3), pp. 328-337.
Coile, C.C. (2015). Economic Determinants of Workers’ Retirement Decisions. Journal of Economic Surveys, 29(4), 830-853.
Campbell, J.C., Ikegami, N., & Gibson, M.J. (2010). Lessons from Public Long-term Care Insurance in Germany and Japan. Health Affairs, 29(1), pp. 87-95.
Figueira, D.A.M., Haddad, M.D.C.L., Gvozd, R., & Pissinati, P.D.S.C. (2017). Retirement Decision-making Influenced by Family and Work Relationships. Revista Brasileira de Geriatria e Gerontologia, 20(2), pp. 206-213.
Greene, W.H., & Hensher, D.A. (2010). Modeling Ordered Choices. New York: Cambridge University Press.
Ogawa, N., Mansor, N., Lee, S-H, Abrigo, Michael R.M., & ArisAsian, T. (2021). Population Aging and the Three Demographic Dividends in Asia. Asian Development Review, 38(1), pp. 32–67.
Poplawski-Ribeiro, M. (2020). Labour Force Ageing and Productivity Growth. Applied Economics Letters, 27(6), pp. 498-502.
Shimizutani, S. (2011). A New Anatomy of the Retirement Process in Japan. Japan and the World Economy, 23(3), pp. 141-152.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)