ความรับผิดเพื่อละเมิดอันเกิดจากการกระทำของบุคคล ผู้ไร้ความสามารถ อันมีสถานภาพเป็นคนไร้ที่พึ่ง (คนไร้บ้าน)
คำสำคัญ:
ความรับผิดเพื่อละเมิด, คนไร้ที่พึ่ง (คนไร้บ้าน), บุคคลผู้ไร้ความสามารถบทคัดย่อ
การศึกษาวิจัย เรื่อง ความรับผิดเพื่อละเมิดอันเกิดจากการกระทำของบุคคลผู้ไร้ความสามารถอันมีสถานภาพเป็นคนไร้ที่พึ่ง (คนไร้บ้าน) พบว่า การเป็นคนไร้ที่พึ่งเกิดจากปัจจัยด้านปัจเจกบุคคล และปัจจัยด้านระบบสังคม โดยมีสาเหตุจากความยากจน ความเจ็บป่วยโดยเฉพาะจิตเวช ปัญหาครอบครัว ติดสุรายาเสพติด สังคมเปราะบาง เศรษฐกิจตกต่ำ การเอารัดเอาเปรียบ ปัจจัยและสาเหตุเหล่านี้ยังเป็น สาเหตุของการก่อเกิดการกระทำละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 ส่วนด้านอาชญาวิทยาแบ่งสาเหตุการกระทำความผิดออกเป็น 3 มุมมองคือ ด้านชีววิทยา (biology) ด้านจิตวิทยา (psychology) และด้านสังคมวิทยา (sociology) ล้วนมีความสัมพันธ์กัน ส่วนความรับผิดถ้าผู้กระทำละเมิดเป็นบุคคลไร้ความสามารถจะมีบิดามารดา ครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือผู้รับดูแล ร่วมรับผิดด้วยตามมาตรา 429 มาตรา 430 แต่คนไร้ที่พึ่งอันมีสถานะเป็นบุคคลไร้ความสามารถจะไม่มีบุคคลเหล่านี้ร่วมรับด้วย เพราะผู้กระทำละเมิดไม่อยู่ในอำนาจปกครองดูแล ผู้เสียหายจึงต้องรับความเสียหายตามลำพัง ด้วยเหตุนี้ รัฐจึงควรมีมาตรการแนวทางช่วยเหลือ คุ้มครอง ป้องกันการเป็นคนไร้บ้าน เพื่อคุ้มครองผู้เสียหายและการเยียวยาชดใช้ความเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย เพื่อลดความเหลื่อมล้ำของสังคม
References
ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์). (2549). พจนานุกรมกฎหมาย: บรรจุคำตั้งแต่โบราณกาลถึงปัจจุบันกาล สำหรับความสะดวกในผู้ใคร่ศึกษา และผู้ต้องการทราบ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
จิ๊ด เศรษฐบุตร. (2556). หลักกฎหมายแพ่งลักษณะละเมิด. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จิตติ ติงศภัทิย์. (2530). กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยบุคคล. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชูศักดิ์ ศิรินิล. (2526). ตําราประกอบการศึกษากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (ม.ป.ป.). Homelessness. สืบค้นจาก https://anthropology-concepts.sac.or.th/glossary/66
พระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2557. (2557, 23 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 131 ตอนที่ 83. หน้า 1-19.
ไพจิตร ปุญญพันธุ์. (2541). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ.
มานิตย์ จุมปา. (2554). คำอธิบายกฎหมายความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มานิตย์ จุมปา. (2562). คู่มือศึกษาวิชา กฎหมายรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2549). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง: หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครองและการกระทำทางปกครอง. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
วรพจน์ สืบประเสริฐกุล. (2558). สถานะของปัจเจกชนภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศสมัยปัจจุบัน.วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์, 4(1), หน้า 69-94.
วารี นาสกุล และจรัญ ภักดีธนากุล. (2553). คำอธิบายกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้. กรุงเทพฯ: จิรรัชการพิมพ์.
วินัย ล้ำเลิศ. (2557) กฎหมายการวิธีพิจารณาความแพ่ง 1 LAW 3005. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์. (2561). คำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิดจัดการงานนอกสั่งลาภมิควรได้. (พิมพ์ครั้งที่8). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
สายสุดา นิงสานนท์. (2525). ความรับผิดเด็ดขาดในกฎหมายลักษณะละเมิด. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิติศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักบ้านมั่นคง สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน). (2560). ถอดบทเรียน...การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไร้. สืบค้นจาก https://web.codi.or.th/wp-content/uploads/2019/05/BMK25600827-1.pdf
สุมาลี วงษ์วิฑิต. (2548). กฎหมายว่าด้วยละเมิดจัดการงานนอกสั่งลาภมิควรได้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุษม ศุภนิตย์. (2550). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยลักษณะละเมิด.กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ.
Curt R. Bartol & Anne M. Bartol. (2011). Criminal Behavior: A Psychological Approach. (9th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education/Prentice Hall.
Robert M. Regoli, John D. Hewitt and Matt Delisi. (2011). The Essentials Delinquency in Society. Canada: Jones and Bartlett.
Stephen G. Tibbetts. (2015). Criminological Theory: The Essentials. (2nd ed.). California: Sage.
The Active Thai PBS. (2566, พฤศจิกายน 23). 50% ของคนไร้บ้านทั้งประเทศ อยู่ที่ กทม. ‘ชีวิตดี ๆ ที่ไม่ลงตัว’. The Active Thai PBS. สืบค้นจาก https://theactive.net/news/marginal-people-20231123/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)