ความคงที่และการเปลี่ยนแปลงภาพแทนกะเทยในบทเพลงไทยบน YouTube

ผู้แต่ง

  • เตือนใจ คดดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • วิริยา วิริยารัมภะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • อรรถพล ภมรพล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • วราภรณ์ ต่วนศรีแก้ว คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • พงศ์ธร ทรัพย์ประเสริฐ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

คำสำคัญ:

ภาพแทน, กะเทย, เพลงไทย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคงที่และการเปลี่ยนแปลงภาพแทนกะเทยในบทเพลงไทยบน YouTube ซึ่งผู้วิจัยเลือกบทเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกะเทย หรือมีผู้ขับร้องเป็นเพศทางเลือกรวมทั้งสิ้น 120 เพลง โดยใช้แนวคิดเพศวิถีและภาพแทน จากผลการศึกษา พบว่า ความคงที่ของภาพแทนกะเทย มี 3 ประเด็น ได้แก่ กะเทยรักความสวยงาม กะเทยต้องการความรักจากผู้ชาย กะเทยสร้างความบันเทิง และการปรับเปลี่ยนภาพแทนกะเทย มี 2 ประเด็น ได้แก่ กะเทยลูกสาวของครอบครัว และกะเทยผู้ภูมิใจในตนเอง ทั้งด้านรูปร่างหน้าตาและเพศกะเทย

References

ก้อง ห้วยไร่. (2559). กะเทยศรีอีสาน. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: ก้อง ห้วยไร่.

เขมิกา ศักดิ์ใหญ่. (2565). ภาพของ “กะเทย” ในวรรณกรรมเพลงไทยสากล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จรีลักษณ์ รัตนาพันธ์. (2563). เพศวิถีศึกษา: ผลกระทบต่อสถาบันทางสังคม. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 10(2), หน้า 24-31.

จินนี่ ภูไท. (2559). น้ำตากะเทย [บัสโซ่ ด่านขุนทด]. ซิงเกิ้ล. ขอนแก่น: ภูไทเร็คคอร์ด.

ฉัตร เชียงใหม่. (2547). นางสาวแนนซี่ [แมงปอ ชลธิชา]. ในอัลบั้ม นางสาวแนนซี่. นนทบุรี: นพพรโปรโมชั่น.

เฉลิมพล มาลาคำ. (2547). กะเทยประท้วง [ปอยฝ้าย มาลัยพร]. ในอัลบั้ม วอนฟ้า. กรุงเทพฯ: ท็อปไลน์มิวสิค.

เฉลิมพล มาลาคำ. (2556). กะเทยหัวโปก [ลูกแพร อุไรพร]. ในอัลบั้ม คนพันธุ์เลาะ. กรุงเทพฯ: ท็อปไลน์มิวสิค.

ชนุดม สุขสถิตย์. (2565). พร้อมไหมคะกะเทย. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: เรดเคล.

ชวัลวิทย์ ยิ่งยศเสนี. (2557). กะเทยไม่เคยนอกใจ [วิด ไฮเปอร์]. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: อาร์ สยาม.

ซีเปีย. (2553). เกลียดตุ๊ด. ในอัลบั้ม ไม่ต้องใส่ถุง. กรุงเทพฯ: อินดี้คาเฟ่.

ณัฎฐณิชา เหล็กกล้า. (2564). การเปลี่ยนแปลงวาทกรรมเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศในแบบเรียนเพศวิถีศึกษาจากความผิดปกติสู่การยอมรับภายใต้พหุวัฒนธรรมที่เป็นเพียงวาทกรรม. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 40(2), หน้า 79-95.

ใต้หนู ใจเดียว. (2560). จงภูมิใจที่มีลูกเป็นกะเทย [แจ็กกี้ ผีบ่อยาก]. ซิงเกิ้ล. อุดรธานี: เฮ็ดดีสตูดิโอเร็คคอร์ด.

ทุ่ง ชลทิศ. (2563). ผู้บ่าวสายเหลือง [ตะวัน ฉายแสง]. ซิงเกิ้ล. ขอนแก่น: PRY RECORD.

ธนันธร นอนเว็น. (2563). บักหล่าอยากเป็นสาว [น้องกัปตัน คนอินลำ Feat.คุณพ่อบ๋ย]. ในอัลบั้ม รวมเพลง น้องกัปตัน คนอินลำ. บุรีรัมย์: คนอินลำ.

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2563). แนวคิดเรื่อง “ความหลากหลายทางเพศ” ในกระบวนทัศน์วิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(3), หน้า 312-339.

นิค คณิตษรณ์. (2559). ผู้หญิงไม่ดียังมีกะเทย. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: ชัวร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์.

บุญมา สุตะคาน. (2559). กะเทยช้ำใจ [สนธยา กาฬสินธุ์]. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: จาตุรงค์.

บุญมา สุตะคาน. (2559). กะเทยเปิดใจ [สนธยา กาฬสินธุ์]. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: จาตุรงค์.

บุญมา สุตะคาน. (2559). กะเทยมักม่วน [สนธยา กาฬสินธุ์]. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: จาตุรงค์.

บุญศรี รัตนัง. (2559). กะเทยก่มีหัวใจ๋ [โอเด็ด ฮารูหรี]. ซิงเกิ้ล. เชียงใหม่: แอล สตาร์ โกล์ด เรคคอร์ด.

ปรภวรรต, คเชนทร. (2558). กะเทยไทยแลนด์ [สาวสองพัน คันจิโกะ]. ในอัลบั้ม กะเทยไทยแลนด์. เชียงใหม่: แอล สตาร์ โกล์ด เรคคอร์ด.

ปรภวรรต, คเชนทร. (2558). ตั๋วแทนกะเทย [สาวสองพัน คันจิโกะ]. ในอัลบั้ม กะเทยไทยแลนด์. เชียงใหม่: แอล สตาร์ โกล์ด เรคคอร์ด.

ประสงค์ ตั้งตัว. (2558). กะเทยควาย. ในอัลบั้ม เรดแดนซ์ 3 คาราโอเกะ. กรุงเทพฯ: เรดบีท มิวสิค.

ปอยฝ้าย มาลัยพร. (2557). กะเทยโจร. ในอัลบั้ม จตุคามคนจน. กรุงเทพฯ: ท็อปไลน์มิวสิค.

พจน์ สุววรณพันธ์. (2558). กะเทยหน้าฮ้าน [แมน มณีวรรณ]. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: อาร์ สยาม.

พรยมล แท่นแก้ว, นรินฐ คงทอง และรัชนีฉาย เฉยรอด. (2563). ภาพแทนของเพศที่สามในสังคมผานบทละครโทรทัศนเรื่อง “ใบไมที่ปลิดปลิว”. วารสารสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 3(2), หน้า 59-72.

เพชร สหรัตน์. (2557). กะเทยไทย. ในอัลบั้ม คารม กรุงเทพฯ: ท็อปไลน์มิวสิค.

ภานุมาศ มหาไชย. (2557). กะเทยไทยอย่าได้แคร์ [ยายสำขำกลิ้ง]. ซิงเกิ้ล. นครราชสีมา: คณะรัตนศิลป์อินตาไทยราษฎร์.

ภูริณัฐร์ โชติวรรณ. (2557). “กะเทยโรงงาน”: ชีวิตและตัวตนข้ามเพศของแรงงานอพยพจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ยอดรัก ทับพิมพ์แสน. (2559). กะเทยแย่งซีน [เอมิก้า หนองหินห่าว]. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: มรดกอีสานเรคคอร์ด.

ยุ้ย มานะศักดิ์. (2566). กะเทยรุ่นพี่ [ยายเว่อร์ เพชรบ้านแพง]. ซิงเกิ้ล. มหาสารคาม: สาวน้อยเพชรบ้านแพง.

รณภพ นพสุวรรณ. (2555). มุมมองของนักประชาสัมพันธ์ที่มีต่อเพศที่สามในงานประชาสัมพันธ์. การศึกษาค้นคว้าอิสระ สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ลลิษา กระสินธุ์. (2564). การศึกษากลวิธีการใช้ภาษาและมโนทัศน์ทางสังคมในเพลงของณัฐวุฒิ ศรีหมอก ‘ฟักกลิ้ง ฮีโร่’. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการพัฒนาอาชีพ, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ลิขิต เรืองโหน่ง. (2559). คำเตือนจากหัวโปก [โบโบ้ เทยไทแบนด์]. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: ไทแบนด์เอ็นเตอร์เทนเม้นท์.

ลูกน้ำ จุลินทรีย์. (2563). กะเทยก็มีหัวใจ [รู๊ส รูซี่ร์]. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: 65 มีเดีย จำกัด.

วิชิต ศิลารัมย์. (2558). รักตุ๊ด. ในอัลบั้ม รักตุ๊ด. กรุงเทพฯ: The Ska Records.

วิทยา บุญอาษา. (2564). กะเทยไม่เคยสบาย [โอเควีโก]. ซิงเกิ้ล. กรุงเทพฯ: BadOfficial.

สมานฉันท์ ปฐมวงส์. (2566, ธันวาคม 16). การปรากฏของ “กะเทย” ในเอกสารประวัติศาสตร์ ยุคแรกหมายถึงคนกลุ่มใด?. ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/culture/article_96855

สลา คุณวุฒิ. (2563). เลดี้บานฉ่ำ [ปอยฝ้าย มาลัยพร และพล นพวิชัย]. ในอัลบั้ม เพลงประกอบละคร เลดี้บานฉ่ำ. กรุงเทพฯ: แกรมมี่โกลด์.

สะเลอปี้. (2562). ลูกฉันเป็นกะเทย [รำไพ แสงทอง]. ซิงเกิ้ล. สกลนคร: พอดีม่วน STUDIO.

สัญญาลักษณ์ ดอนศรี. (2558). กะเทยลั้นลา [หญิงจี้ กะเทยลั้นลา ท็อปไลน์]. ในอัลบั้ม กะเทยลั้นลา. กรุงเทพฯ: ท็อปไลน์มิวสิค.

สัญญาลักษณ์ ดอนศรี. (2564). อิจฉากะเทย [เชิด ร็อคแสลง]. ในอัลบั้ม ทหารเกณฑ์คนจน. กรุงเทพฯ: ท็อปไลน์มิวสิค.

สิทธิพันธ์ บุญญาภิสมภาร, รณภูมิ สามัคคีคารมย์ และพิมพวัลย์ บุญมงคล. (2561). ชีวิต ตัวตน และเรื่องเพศ ของสาวประเภทสอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

สุรเดช โชติอุดมพันธ์. (2548). วาทกรรม ภาพแทน และอัตลักษณ์ วรรณคดีศึกษาในบริบทสังคมและวัฒนธรรม 2. สืบค้นจาก http://www.phd-lit.arts.chula.ac.th/Download/discourse.pdf

สุรสีห์ บัวจันทร์. (2561). ความเป็นหญิงกับการสร้างเรือนร่างของหญิงในร่างชาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุริยันต์ ปากศรี. (2562). กะเทยห่าว [จินตหรา พูนลาภ]. ซิงเกิ้ล. ร้อยเอ็ด: แคทไนน์ สูติโอ.

โสภิดา รูปสะอาด และ อมต จันทรังษี. (2564). ความคิดเห็นต่อเพลงเหยียดเพศในสังคมออนไลน์:ปฏิบัติการตอกยํ้าและโต้ตอบการเหยียดเพศในสังคมชายเป็นใหญ่. จุดยืน: วารสารสตรีนิยมไทย, 8(1), หน้า 87-114.

หนุ่ม เมืองน้ำดำ. (2563). กะเทยวัยทีน [น้องเป็นกะเทย]. ซิงเกิ้ล. กาฬสินธุ์: ต๊วดงัดโปรดักชั่น.

อัฐพล ต้นคำ. (2548). น้ำตาสีม่วง. ในอัลบั้ม ยาสีฟันกับขันตักน้ำ. กรุงเทพฯ: ชัวร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์.

อิชณน์กร พึ่งเกียรติรัศมี. (2565). ไอ้สอง [ไททศมิตร Feat. เบน ชลาทิศ]. ในอัลบั้ม เพื่อชีวิตกู. กรุงเทพฯ: Gene Lab.

เอกชัย แสงโสดา. (2562). การสื่อสารต่อสู้ต่อรองความเป็นกะเทยผ่านรายการโทรทัศน์ที่มีการนำเสนอบนยูทูบในยุคดิจิทัล. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสาร, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-04-2024