ความขัดแย้งคอกหอย: การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์เพื่อขับเคลื่อนความยุติธรรมทรัพยากรทางทะเลอ่าวบ้านดอน
คำสำคัญ:
ความขัดแย้งคอกหอย, วาทกรรม, ความยุติธรรม, อ่าวบ้านดอนบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทและสภาพปัญหาความขัดแย้งเรื่องนาหอยรอบอ่าวบ้านดอน ศึกษาวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ในข่าวปัญหาความขัดแย้งประเด็นการครอบครองสิทธิ นาหอยในพื้นที่อ่าวบ้านดอนในสื่อสารมวลชน และศึกษาความคิดเห็นของคนในชุมชนรอบอ่าวบ้านดอนที่มีต่อข่าวความขัดแย้งที่สะท้อนผ่านสื่อสารมวลชน วิธีวิจัยใช้แบบผสม โดยเก็บข้อมูลข่าวและสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ผลวิจัยพบว่า อ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับการส่งเสริมให้เลี้ยงหอยแครง ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 เมื่อเกิดโครงการ Sea Food Bank ที่อนุญาตให้นำพื้นที่ทะเลผันเป็นทุนมีการบุกรุกอ่าวบ้านดอนจนเกิดความขัดแย้ง ผลการศึกษาข่าวปัญหาความขัดแย้งการครอบครองสิทธินาหอยในพื้นที่อ่าวบ้านดอนตามแนวทางของแฟร์คลาฟ (1995) พบว่า ตัวบทแสดง 3 ชุดความคิดสำคัญ คือ คอกหอยอ่าวบ้านดอนมีมูลค่าสูง ความขัดแย้งเกิดจากนายทุน กฎหมายคือการแก้ไขความขัดแย้งพบกลวิธีทางภาษา 6 กลวิธี ได้แก่ การใช้คำศัพท์ การใช้คำถามวาทศิลป์ การใช้สำนวน การใช้อุปลักษณ์ การใช้มูลบท และการอ้างถึง ซึ่งสะท้อน 2 อุดมการณ์ คือ อุดมการณ์กฎหมาย และอุดมการณ์ธุรกิจ ผลการศึกษาวิถีปฏิบัติทางวาทกรรมพบว่า ส่งผลกับคนวงกว้างเนื่องจากเผยแพร่ผ่านทางสื่อออนไลน์ ผลการวิเคราะห์วิถีปฏิบัติทางสังคมวัฒนธรรมทำให้เกิดการรับรู้ปัญหาความขัดแย้ง พฤติกรรมต่อกฎหมาย และแนวคิดทุนนิยม ผลการศึกษาความคิดเห็นของคนในชุมชนอ่าวบ้านดอนพบว่า แตกต่าง ชุดความคิดความขัดแย้งเกิดจากนายทุน คือความขัดแย้งไม่ได้เกิดจากนายทุน แต่เกิดจากทั้งนายทุนและประมงพื้นบ้าน และสอดคล้องกับอุดมการณ์กฎหมาย และอุดมการณ์ธุรกิจ
References
กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์. (2543). ปริจเฉทเกี่ยวกับชนกลุ่มน้อยในประเทศไทย: การศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และจันทิมา เอียมานนท์. (2549). มองสังคมผ่านวาทกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กาญจนา แก้วเทพ. (2557). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
กุสุมา รักษมณี และคณะ. (2533). ทักษะสื่อสาร 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
เกศนี คุ้มสุวรรณ และสิริวรรณ นันทจันทูล. (2559). กลวิธีการใช้คำศัพท์เพื่อสื่ออุดมการณ์ความเป็นรูปลักษณ์ที่พึงประสงค์: กรณีศึกษาการโฆษณาของสถานเสริมความงาม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 13: ตามรอยพระยุคลบาท (หน้า 1043-1051). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน.
คมชัดลึกออนไลน์. (2563, มิถุนายน 5). ผู้ประกอบการวอนขอเวลารัฐในการเก็บหอยแครง หลังจากนั้นพร้อมรื้อถอน. คมชัดลึกออนไลน์. สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/432967
คมชัดลึกออนไลน์. (2563, มิถุนายน 12). ผู้ประกอบการคอกหอยเร่งรื้อถอนขนำกลางอ่าวบ้านดอน. คมชัดลึกออนไลน์. สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/433335
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2560). วาทกรรมการพัฒนา: อำนาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความเป็นอื่น. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: วิภาษา.
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2546). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากย์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เดลินิวส์ออนไลน์. (2563, มิถุนายน 5). ศึกชิงหอยแครงอ่าวบ้านดอน ส่งมาเฟียข่มขู่ชาวบ้าน. เดลินิวส์ออนไลน์. สืบค้นจาก https://d.dailynews.co.th/regional/400064/
ทัศนีย์ ประกอบบุญ. (2563, สิงหาคม 11). จับตาแก้ปัญหาอ่าวบ้านดอน แก้อย่างไรให้ยั่งยืน. The active. สืบค้นจาก https://theactive.net/read/20200811/
ไทยรัฐออนไลน์. (2563, มิถุนายน 10). ศึกชิงลูกหอยแครงขุมทรัพย์อ่าวบ้านดอน. ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=g5VZeT0Y6W0
พรชนก ปานสวี. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรณีศึกษาชมรมประมงพื้นบ้านตำบลปะนาเระ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี. การศึกษาค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
เพ็ญนภา สวนทอง และโอฬาร ถิ่นบางเดียว. (2562). นิเวศวิทยาการเมืองของการจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเลอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 7(2), หน้า 101-130.
รัชนินท์ พงศ์อุดม. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับค่านิยมเกี่ยวกับความงาม: การศึกษาวาทกรรมโฆษณาเครื่องสำอางในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุนทรี โชติดิลก. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวารสาร “อยู่ในบุญ”สุขที่พึงประสงค์สุขได้ด้วยบุญ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 4(2), หน้า 165–200.
สุนทรี โชติดิลก. (2561). “เด็กดีต้องทำบุญ” ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวาทกรรมสื่อสำหรับเด็กที่ผลิตโดยวัดพระธรรมกาย. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 40(1), หน้า 85–123.
สำนักข่าวอิสรา. (2562, ธันวาคม 15). ปูพรมแก้ปัญหาอ่าวบ้านดอน ค้นสาเหตุที่แท้จริง. สำนักข่าวอิสรา. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/article/south-news/other-news/118298
สำนักข่าวอิสรา. (2563, 12 มิถุนายน). ทร.นำทีมรื้อขนำ เคลียร์อ่าวบ้านดอน. สำนักข่าวอิสรา. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/article/south-news/other-news/1/23213
สำนักข่าวอิสรา. (2563, สิงหาคม 5). เปิดแผนเยียวยาอ่าวบ้านดอนสู่ความสงบ. สำนักข่าวอิสรา. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/article/south-news/other-news/1/23213
สำนักงานสถิติจังหวัดสุราษฎร์ธานี. (2562). รายงานสถิติจังหวัดสุราษฎร์ธานี . สืบค้นจาก http://surat.nso.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=342&Itemid=507
สำนักข่าวไทย. (2563, มิถุนายน 12). คลี่ปมขัดแย้งศึกชิงหอยแครงอ่าวบ้านดอน สุราษฎร์ธานี. สำนักข่าวไทย. สืบค้นจาก https://tna.mcot.net/tna-442722
ศิริพร ภักดีผาสุข. (2553). โครงการวิจัยวาทกรรม “ความเป็นผู้หญิง” ในนิตยสารสุขภาพและความงามภาษาไทย: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอพร โมฬี และธนา จารุพันธุเศรษฐ์. (2564). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการธนาคารปูม้า. กรุงเทพฯ: กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.).
อำนาจ ปักษาสุข. (2562). วาทกรรมเกี่ยวกับ “บุญ” ในสื่อสาธารณะ. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Bangkokbiz news. (2563, มิถุนายน 29). ตามติดสถานการณ์อ่าวบ้านดอน ผลประโยชน์หมื่นล้านอยู่ที่ใคร. Bangkokbiz news. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/business/887057
Berlo, D. (1960). Process of Communication: An Introduction to Theory and Practice. New York: Holt, Rinehart and Winston.
Lakoff, G. & Johnson, M. (1980). Metaphors We Live By. London: The University of Chicago Press.
MGR online. (2563, มิถุนายน 14). เปิดแผนทางออกปัญหาอ่าวบ้านดอน. MGR online. สืบค้นจาก https://mgronline.com/south/detail/9640000
MGR online. (2563, มิถุนายน 17). คึกคัก ! ชาวบ้านแห่ตักลูกหอยแครงสร้างรายได้วันละนับหมื่นบาทต่อคน. MGR online. สืบค้นจาก https://mgronline.com/south/detail/9640000
PPTV Online. (2563, มิถุนายน 19). เริ่มรื้อขนำ เฝ้าคอกหอย ในอ่าวบ้านดอน. PPTV Online. สืบค้นจาก https://www.pptvhd36.com/news
Thai PBS ศูนย์ข่าวภาคใต้. (2563, สิงหาคม 11). อ่าวบ้านดอนกับความขัดแย้งหมื่นล้าน. Thai PBS ศูนย์ข่าวภาคใต้. สืบค้นจาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/326143
Van Dijk, T.A. (2007). Discourse as Social Interaction (Discourse Studies: A Multidisciplinary Introduction Volume 2). London: Sage Publications.
Van Dijk, T.A. (1996). Discourse, Cognition and Society, Discourse & Society, 7(1), pp. 5-159.
Way magazine. (2563, มิถุนายน 20). แถวนี้อ่าวบ้านดอน! ปมขัดแย้งอ่าวหมื่นล้านเริ่มจากตรงไหน ทำไมจึงแก้ไม่ได้. Way magazine. สืบค้นจาก https://waymagazine.org/bandon-bay-conflict/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)