การบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อความสามารถทางการแข่งขัน
คำสำคัญ:
บทบาท, การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, ปัญญาประดิษฐ์บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อความสามารถทางการแข่งขันโดยใช้ 3 แนวคิด คือ 1) บทบาทการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และ 3) ปัญญาประดิษฐ์กับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับองค์การภาคธุรกิจที่ต้องเผชิญกับความท้าทายทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ซี่งปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและไม่แน่นอน จึงทำให้การบริหารทรัพยากรมนุษย์เป็นส่วนหลักสำคัญที่จะต้องส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์และองค์การให้สามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามวิสัยทัศน์ขององค์การเพื่อเพิ่มความสามารถทางการแข่งขัน รวมทั้งสามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประสบความสำเร็จทางธุรกิจ
References
จำเนียร จวงตระกูล. (2563). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ชญานุช จาตุรจินดา. (2564). AI กับการบริหารทรัพยากรมนุษย์. วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 51(1), หน้า. 31-50.
ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน. (2551). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ทีพีเอ็น เพรส.
ทวีสุข ธรรมศักดิ์. (2564). The Great Reset ปฏิวัติโลกใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตะวันออก.
เพ็ญศรี ฉิรินัง. (2563). การจัดการทรัพยากรมนุษย์: Human Resource Management. นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริพร แย้มนิล. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
Boddy, D. (2017). Management: An Introduction. (7th ed). Harlow: Pearson Education Limited.
Dessler, G. (2017). Human Resource Management. (15th ed). Essex: Pearson Education Limited.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)