การพัฒนาสมรรถนะครูระดับประถมศึกษายุคประเทศไทย 4.0
คำสำคัญ:
competence development, elementary teachers, Thailand 4.0บทคัดย่อ
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ การเรียนการสอน ดังนั้น การพัฒนาสมรรถนะครูระดับประถมศึกษายุคประเทศไทย 4.0 จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเรียนรู้เท่าทันยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ทั้งการพัฒนาทักษะด้านการใช้เทคโนโลยี ทักษะการสอนใหม่ เทคนิควิธีการให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ รวมทั้งจัดกิจกรรมเชื่อมโยงความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ร่วมกัน และเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงไปสู่กรอบความคิดใหม่ และการพัฒนาไปสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ กระบวนการเรียนการสอนดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้ ต้องดำเนินการทั้งสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงาน จึงจะทำให้เป็นครูระดับประถมศึกษายุคประเทศไทย 4.0 อย่างแท้จริง
References
ครุศาสตร์ปัญญา. (2563). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะทักษะครูในศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก https://karusatpanya.org
ดิเรก พรสีมา. (2559). ครูไทย 4.0. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_345042
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (ม.ป.ป.). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อการพัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สืบค้นจาก http://www.pharmacy.cmu.ac.th/unit/unit_files/files_download/2014-04-10.pdf
บุญชนก ธรรมวงศา. (2561). 4CS: สี่ทักษะการเรียนรู้ที่ควรมี ฝึกกันได้ และไม่ต้องใช้พรสวรรค์. สืบค้นจาก https://thepotential.org/knowledge/4cs-for-21st-century-learning/
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2561). คุณลักษณะครูในศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก https://www.trueplookpanya.com/education/content/68571/-teaartedu-teaart-teaarttea-
สุนันท์ สีพาย และไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2561). เปลี่ยนผ่านการศึกษาไทยสู่การศึกษา 4.0. วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 24,(2), หน้า 13-27.
สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2559). แนวคิดเกี่ยวกับประเทศไทย 4.0. สืบค้นจาก http://planning2.mju.ac.th/goverment/20111119104835_planning/Doc_25590823143652_358135.pdf
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการประเมินสมรรถนะครู. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)