การพัฒนากรอบแนวคิดการจัดการภาครัฐ “ชราธิปไตย” : บทสำรวจสวัสดิการแห่งรัฐของผู้สูงอายุไทย

ผู้แต่ง

  • วรวีร์ พิสิฐธนกุล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ชยุต ภวภานันท์กุล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

ชราธิปไตย, การจัดการภาครัฐสร้างสรรค์, สวัสดิการแห่งรัฐของผู้สูงอายุ, ธรรมาภิบาลท้องถิ่น

บทคัดย่อ

ในยุคปัจจุบันแนวคิดชราธิปไตยเป็นหนึ่งในความท้าทายของการจัดการภาครัฐในการสนับสนุนและผลักดันบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุด้านประชาสังคมในการพัฒนาคุณภาพของผู้สูงอายุในมุมมองสวัสดิการแห่งรัฐของผู้สูงอายุ บทความปริทัศน์นี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวางโครงร่างแก่นการวิเคราะห์ทางการจัดการภาครัฐสร้างสรรค์ แนวคิดชราธิปไตยเพื่อความมั่นคงทางสังคมสู่ธรรมาภิบาลท้องถิ่น นำมาเป็นศูนย์กลางความท้าทายกับแนวคิดการจัดการภาครัฐเพื่อสวัสดิการผู้สูงอายุของประเทศไทย สุดท้ายนำการวิเคราะห์จุดเด่น จุดต้องพัฒนา โอกาสและภัยคุกคาม มาเป็นการพิจารณาการรับมือเพื่อพัฒนาเป็นกรอบแนวคิดของบทความปริทัศน์นี้ที่ให้เห็นการสร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่เปิดใช้ฐานแนวคิดชราธิปไตยเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐของผู้สูงอายุสู่การปฏิรูปธรรมาภิบาลท้องถิ่นในยุคโรคระบาดโควิด-19 ของประเทศไทย ซึ่งจะเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้ต่อยอดเป็นบทความวิจัยได้ต่อไปตามสถานภาพศาสตร์ประยุกต์ภาครัฐทำการปฏิรูปธรรมาภิบาลท้องถิ่นเป็นหลายระดับ

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. แผนปฏิบัติการด้านผู้สูงอายุ. สืบค้นจาก https://www.dop.go.th/th/laws/1/28/828

คณะกรรมการศึกษาวิจัยและวางแผนระยะยาวเกี่ยวกับผู้สูงอายุในคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ. แผนระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ. 2525-2544. กรุงเทพฯ: กองวิชาการกรมการแพทย์.

ชวนะ ภวกานันท์. (2555). การจัดการมหาชนสร้างสรรค์สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์: ทักษะการคิดใหม่เพื่อการศึกษายุคประเทศไทยสร้างสรรค์. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, 2(2), หน้า 1-20.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คสพับลิเคชั่นส์.

สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์. (2557). สวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 7(1), หน้า 73-82.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2553). รายงานการวิจัย กรอบทิศทางการจัดสวัสดิการทางสังคมอย่างยั่งยืน ในช่วงแผนฯ 11. กรุงเทพฯ: สำนักยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนาทางสังคม.

สำนักงานรัฐมนตรี. (2554). มติคณะรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ: สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง.

สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2563, 9 พฤศจิกายน). ระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ครั้งที่ 3/2563. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3. (2558). รายงานวิจัย การจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุในแต่ละช่วงวัย กรณีศึกษาพื้นที่: เมืองพัทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี องค์การบริหารส่วนตำบลด่านชุมพล อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด (เอกสารวิชาการที่ 10/2558). สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. (2553). พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.).

Administration for Community Living (ACL). (2017). Administration on Aging. Retrieved from https://acl.gov/about-acl/administration-aging

Bambra, C.(2004). Weathering the Storm: Convergence, Divergence and the Robustness of the “World of Welfare”. The Social Policy Journal, 3(3), pp. 3-23.

Bloch, C. & Bugge, M. (2013). Public Sector Innovation-From Theory to Measurement. Structural Change and Economic Dynamics, Elsevier 27(C), pp. 133-145.

Bowden, P. (1979). Structure and Creativity: A Civil Service Hypothesis. Public Administration, 57(3), pp. 287-308.

Dunlop, C.A., Ongaro, E. & Baker, K. (2020). Researching COVID-19: A Research Agenda for Public Policy and Administration Scholars. Public Policy and Administration, 35(4), pp. 365-383.

Docherty, C. (2017). Perspectives on Design Thinking for Social Innovation. The Design Journal, 20(6), pp. 719-724.

Dunleavy, P., Margetts, H., Bastow, S. &Tinkler, J. (2006). Digital Era Governance-IT Corporations, the State and e-Government. New York: Oxford University Press.

Evers, A. & Svetlik, I. (1993). Balancing Pluralism: New Welfare Mixes in Care for the Elderly. Hampshire: Avebury.

Ferlie, E. (2018). The New Public Management and Public Management Studies. New York: Oxford University Press.

Gault, F. (2017). Measuring Public-Sector Innovation and Social Progress. Washington, DC: National Academy of Science.

Gearey, M. & Gilchrist, P. (2019). Reframing Rural Governance: Gerontocratic Expression of Socio-ecological Resillience. Centro de Estudiossobre la Despoblación y Desarrollo de ÁreasRurales. Ager. Revista de EstudiossobreDespoblación y Desarrollo Rural, pp. 103-127.

Hood, C. (1991). A Public Management for All Seasons? Public Administration, 69, pp. 3-19.

Lamsal, E. (2016). SWOT Analysis of Local eGovernance in Nepal. Retrieved from https://ekendraonline.com/ict/swot-analysis-local-egovernance-nepal/

Li, J., Young, M.N., & Tang, G. (2012). The Development of Entrepreneurship in Chinese Communities: An Organizational Symbiosis Perspective. Asia Pacific Journal of Management, 2(2012), pp. 367-385.

Martín, X.S.I. (2000). Gerontocracy and Social Security. Barcelona: The Center for Research in International Economics (CREI). Retrieved from https://www.crei.cat/wp-content/uploads/opuscles/090429181911_ENG_op6ang.pdf

Nelson, R.R. & Winter, S.G. (1977). In Search of Useful Theory of Innovation. ScienceDirect, 6(1), pp. 36-76.

Niklasson, B. & Hansen, M.B. (2010). New Public Management and Creativity A Comparative Analysis. The COST Conference at Cluj, (May), pp. 1-85.

OECD. (2014). Tourism and Creative Economy: OECD Studies on Tourism. OECD Publishing. Retrieved from http://dx.doi.org/10.1787/9789264207875-en

Osborne, S.P. (2010). The New Public Governance. London: Routledge.

Pollitt, C. & Bouckaert, G. (2004). Public Management Reform: A Comparative Analysis. Oxford: Oxford University Press.

Porter, M.E. (2019). The Strategy to Transform Health Care and Role of Outcome. Paris, France: OECD Policy Forum People at the Center: The Future of Health.

Roberto, K.A., & Wacker, R.R. (2010). Aging Social Policies: An International Perspective. California: Sage Publications.

Robinson, M. (2015). From Old Public Administration to the New Public Service: Implications for Public Sector Reform in Developing Countries. Singapore: UNDP Global Center Public Service Excellence.

Runya, X., Qigui, S. & Wei, S. (2015). The Third Wave of Public Administration: The New Public Governance. Canadian Social Science, 11(7), pp. 11-21.

Steiner, G.A. (1965). The Creative Organization. London: The University of Chicago Press.

Stephen, P.O. (2006). The New Public Governance. Public Management Review, 8(3), pp. 377-387.

Szarfenberg, R. (2015). Theory and Practice of the Welfare State in Europe. Sessions 5 and 6, Institute of Social Policy. Retrieved from http://rszarf.ips.uw.edu.pl/welfare-state/sessions05_06.pdf

Tape, M. & Vanhuysse, P. (2016). Are Aging OECD Welfare States on the Path to Gerontocracy? Evidence from 18 Democracies, 1980-2002. Journal of Public Policy, 29(1), pp. 1-28.

Van Voorhis, R.A. (2002). Different Types of Welfare States? A Methodological Deconstruction of Comparative Research. The Journal of Sociology & Social Welfare, Western Michigan University, 29(4), pp. 2-18.

Whittington, F.J. (2012). Old Age in the Welfare State. The Gerontologist, 52(3), pp. 428-433.

Woodman, R.W., Sawyer, J.E.,& Griffin, R.W. (1993). Toward a Theory of Organizational Creativity. Academy of Management Review, 18, pp. 293-321.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

23-08-2022