การดำเนินอยู่ของศิลปวัฒนธรรมในยุควิถีชีวิตใหม่
คำสำคัญ:
การดำเนินอยู่, ศิลปวัฒนธรรม, วิถีชีวิตใหม่บทคัดย่อ
บทความวิชาการ การดำเนินอยู่ของศิลปวัฒนธรรมในยุควิถีชีวิตใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักรู้ของคนในสังคมยุคปัจจุบันที่มีต่อศิลปวัฒนธรรมไทยจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 เพื่อเป็นการสร้างแนวทางในการดำเนินอยู่ของศิลปวัฒนธรรมในยุควิถีชีวิตใหม่ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดเพื่อให้ศิลปวัฒนธรรมสามารถดำเนินอยู่ควบคู่กับสังคมไทยได้ต่อไปและสามารถบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยได้ต่อไป ซึ่งสาระสำคัญสรุปได้ว่าเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในปัจจุบันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี ที่ส่งผลกระทบต่อวิถีการดำรงชีวิตของมนุษย์อย่างแพร่หลาย รวมไปถึงความเปลี่ยนแปลงทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่เกิดจากความคิด การสร้างสรรค์ ความเชื่อ ทัศนคติ มุมมองของคนในสมัยอดีตที่มีการอนุรักษ์และสืบทอดในรูปแบบหนึ่งนำมาสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบของการอนุรักษ์ สืบสาน พัฒนาและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในยุควิถีชีวิตใหม่สืบต่อไป
References
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2564). อนุรักษ์ประเพณีดีต่อธรรมชาติ. สืบค้นจาก https://7greens.tourismthailand.org/green-story/
ข่าวสด. (2563, พฤศจิกายน 24). สตรี - ศิลปินวิถีใหม่ สู่โลกออนไลน์. ข่าวสด. สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/newspaper/newspaper-inside-pages/news_5335239
ชัยวัฒน์ ชัยศิริพร. (2557). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อโรงแรม ขนาด 3 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ตติยา แก้วจันทร์. (2564, มกราคม 7). เส้นทางสู่อาชีพ "นักดนตรี" ในยุคดิจิทัล กระแสอินดี้ที่ใคร ๆ ก็เป็นศิลปินได้. ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2138075
ไทยรัฐออนไลน์. (2564, กุมภาพันธ์ 21). กรุงเทพฯ ติดเบรก ยังต้องปิดต่อ ดื่มร้านอาหาร ได้แค่ “3 ทุ่ม”. ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/local/2232190
นงเยาว์ ชาญณรงค์. (2542). วัฒนธรรมและศาสนา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พิมพ์ปวีณ สุนทรธรรมรัต. (2564). วงการศิลปะในยุค New Normal. สืบค้นจาก https://www.faa.chula.ac.th/SelfLearningFaamai/detailform/146
พระณัฐวุฒิ พันทะลี, พระธัญวัฒน์ จิรวฑฺฒโน และพระครูอโศกสุธรรมวงษ์. (2564). วิถีชีวิตใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(3), หน้า 53-65.
มติชนออนไลน์. (2563, พฤศจิกายน 24) .การส่งเสริมวัฒนธรรมยุคหลังโควิด-19 “New Normal : New Coolture” สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/foreign/news_2401678
มาริษา ศรีษะแก้ว, สถาพร วิชัยรัมย์ และสากล พรหมสถิต. (2563). ศาสตร์พระราชา: เกษตรทฤษฎีใหม่ในรูปแบบโคก หนอง นา โมเดล. วารสารสหวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 4(2), หน้า 31-40.
มูลนิธิ SCG. (2563). Covid-19 ตอกย้ำความสำคัญของทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก https://www.scgfoundation.org/covid19/
ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 กระทรวงมหาดไทย. (2564). สถานการณ์ covid-19 ในประเทศไทย ข้อมูลวันที่ 1 เมษายน-25 ตุลาคม 2564, สืบค้นจาก https://www.moicovid.com/25/10/2021/
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2545). วิจัยเชิงปฏิบัติการทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และชาติพันธุ์: เสียงจากสังคมชายแดน-ชายขอบ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม.
สามารถ จันทร์สูรย์ และประทีป อินแสง. (2545). การศึกษากับศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แนวทางการจัดการศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
อุทิศ ทาหอม, พิชิต วันดี และสำราญ ธุระตา. (2558). ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนบ้านตามา จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 11(2), หน้า 44-59.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)