แนวทางการแสดงแบบจิต-กาย ของฟิลลิป ซาริลลี
คำสำคัญ:
การแสดง, การฝึกนักแสดง, จิต-กาย, ซาริลลีบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอหลักการทางด้านการแสดงและการฝึกฝนนักแสดงของฟิลลิป ซาริลลี (Phillip Zarrilli) อาจารย์ นักวิชาการ และนักการละครชาวอเมริกัน ผู้พัฒนาแนวทางการฝึกฝนในลักษณะจิต-กาย (psychophysical) ขึ้นมา แนวทางนี้เป็นผลผลิตจากการตกผลึกทางความคิดและประสบการณ์ในการเป็นนักแสดงและผู้ฝึกสอนนักแสดง ซึ่งได้รับอิทธิพลจากแนวคิดของนักการละครในอดีตและปัจจุบัน จากทั้งฝั่งยุโรปอเมริกาและเอเชีย เป้าหมายในการฝึกฝนนักแสดงตามแนวทางนี้คือการทำให้นักแสดงเข้าถึงสภาวะการรับรู้กายจิต (bodymind) และสามารถพัฒนา ควบคุมและใช้พลังงานที่มีอยู่ภายในร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพบนเวทีการแสดง ในเชิงทฤษฎีซาริลลีอ้างอิงทฤษฎีปรากฏการณ์วิทยา (phenomenology) และทฤษฎีทางด้านประชานศาสตร์ (cognitive science) เพื่ออธิบายหลักการแสดงแบบจิต-กาย การประยุกต์ใช้แนวทางการฝึกฝนนักแสดงของซาริลลีสามารถทำได้โดยคำนึงถึงหลักการพื้นฐานห้าข้อ คือ 1) ลมหายใจ 2) ความสนใจ 3) ภาพและคำอุปมา 4) สัมผัสและการปรับแก้ และ 5) การทำซ้ำ
References
ธนัชพร กิตติก้อง. (2563). การแสดง. ขอนแก่น: โครงการส่งเสริมการผลิตตำราเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563.
ภัทรพล เป็งวัฒน์. (2563). “จอย” ความเป็นมนุษย์ที่ดำรงอยู่โดยปราศจากร่างกาย: บทวิเคราะห์ผ่านแนวคิดปรากฏการณ์วิทยาของมอริช แมร์โล-ปองตี. วารสารปณิธาน, 16(2), หน้า54-84.
สดใส พันธุมโกมล. (2562). ประเภทละคร. ใน น. แววหงส์ (Ed.), ปริทัศน์ศิลปการละคร. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Creely, E. (2010). Metho(ology), pedagogy and praxis: a phenomenology of the pre-performative training regime of Phillip Zarrilli. Theatre, Dance and Performance Training, 1(2), pp. 214-228.
Gordon, R. (2006). The Purpose of Playing: Modern Acting Theories in Perspectives. Ann Arbor: University of Michigan Press.
Kapsali, M. (2016). Yoga and Actor Training. Abingdon: Routledge.
Kim, S. (2016). Phillip B. Zarrilli. Asian Theatre Journal, 33(2), pp. 446-458.
Liu, S. (2011). A. C. Scott. Asian Theatre Journal, 28(2), pp. 414-425.
McAllister-Viel, T. (2018). Training Actors' Voices: Towards an Intercultural/Interdisciplinary Approach. Abingdon: Routledge.
Merlin, B. (2007). The Complete Stanislavsky Toolkit. London: Nick Hern Books.
MICHA. (2018). MICHA: Our Story. Retrieved from https://www.michaelchekhov.org/our-story
Punpeng, G. (2012). Meditation in motion to mindfulness in performance: a psychophysical approach to actor training for Thai undergraduate drama programmes. Retrieved from https://core.ac.uk/download/pdf/12826891.pdf
Strasberg, L. (1988). A Dream of Passion. New York: Plume.
Sutherland, L. (2007). Knowing, Perceiving and Believing. Unpublishedmaster’s thesis, University of Exeter.
Yoo, J. (2018). A Korean Approach to Actor Training. Abingdon: Routledge.
Zarrilli, P. (2002). Acting (Re)Considered(2nd ed.).Abingdon: Routledge.
Zarrilli, P. (2009). Psychophysical Acting: An Intercultural Approach after Stanislavski. Abingdon: Routledge.
Zarrilli, P. (2017). Phillip Zarrilli: Pre-Performative Psychophysical Training of the Actor/Performer. Retrieved from http://theatredanceperformancetraining.org/2017/03/phillip-zarrilli-pre-performative-psychophysical-training-of-the-actorperformer/
Zarrilli, P. (2020). (Toward) A Phenomenology of Acting. Abingdon: Routledge.
Zarrilli, P., Daboo, J., & Loukes, R. (2013). Acting: Psychophysical Phenomenon and Process. Basingstoke: Palgrave Macnillan.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)