การบำบัดครอบครัวเชิงโครงสร้างและจิตวิทยาเชิงบวก
คำสำคัญ:
การบำบัดครอบครัวเชิงโครงสร้าง, การปรึกษาครอบครัว, จิตวิทยาเชิงบวกบทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอความรู้การให้การบำบัดครอบครัวแบบเน้นโครงสร้าง ซึ่งนำเสนอแนวคิดทฤษฎีในการวิเคราะห์โครงสร้างครอบครัว ได้แก่ ระบบย่อยในครอบครัว ขอบเขต บทบาท กฎ และอำนาจรวมถึงเทคนิคการบำบัด ได้แก่ การเข้าร่วมการวางกรอบใหม่ การตั้งกฎ การสร้างขอบเขต และการปรับโครงสร้าง เป็นต้น นอกจากนี้ ยังนำเสนอการบำบัดครอบครัวแบบโครงสร้างร่วมกับแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก ซึ่งมีเทคนิคที่น่าสนใจ ได้แก่ การสร้างสัมพันธภาพและค้นหาจุดแข็งของครอบครัว การใช้พลังบวกหรือเน้นจุดแข็ง การสร้างกรอบใหม่ การส่งเสริมความเป็นพ่อแม่ การสร้างกติกาใหม่การค้นหาข้อยกเว้นแห่งปัญหา สำหรับส่วนท้ายของบทความเป็นการเสนอแนวทางของโปรแกรมการบำบัดและงานวิจัยที่น่าสนใจด้วย
References
เพ็ญนภา กุลนภาดล. (2559). การปรึกษาครอบครัว. ชลบุรี: เนติกุลการพิมพ์.
มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์. (2558). จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
มาลินี อยู่ใจเย็น, สุทธานันท์ กัลกะ, ศศิวิมล บูรณะเรข และไขนภา แก้วจันทรา. (2561). การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้าในชุมชนแออัดแห่งหนึ่ง. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีกรุงเทพ. 34(3), หน้า 100-107.
วัลภา บูรณกลัศ. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัวกับความสุขของผู้สูงอายุในชุมชนแห่งหนึ่ง เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลตำรวจ. 9(2), หน้า 25-33.
วรุณี ชาติประสิทธิ์. (2553). การใช้เทคนิคเฉพาะอย่างในการให้การปรึกษาครอบครัวตามทฤษฎีโครงสร้างครอบครัวของครอบครัวต่อความเข้มแข็งของครอบครัวหย่าร้าง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาให้การปรึกษา, มหาวิทยาลัยทักษิณ.
หลิงเฟินโม. (2560). ปัญหาครอบครัวในสังคมไทย: ภาพสะท้อนจากนวนิยายไทยช่วง พ.ศ. 2508–2557.วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์. 12(23), หน้า 1-12.
อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2554). จิตบำบัดและการให้คำปรึกษาครอบครัว (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ:ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรพินทร์ ชูชม, สุภาพร ธนะชานันท์ และทัศนา ทองภักดี. (2554). รายงานการวิจัยปัจจัยเชิงเหตุและผลของภูมิคุ้มกันทางจิตของเยาวชน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.
Buehler, C., & Welsh, D.P. (2009). A process model of adolescents' triangulation into parents' marital conflict: The role of emotional reactivity. Journal of Family Psychology. 23(2),.pp. 167–180. https://doi.org/10.1037/a0014976
Conoley, C.W., & Conoley, J.C. (2009). Positive Psychology and Family Therapy. New Jersey: JohnWiley & Sons.
Gladding,S.T. (2019). Family Therapy History, theory, and Practice (7thed.). USA: Pearson Education.
Jiménez, L., Hidalgo, V., Baena, S., León, A., & Lorence, B. (2019). Effectiveness of Structural-Strategic Family Therapy in the Treatment of Adolescents with Mental Health Problems and Their Families. International Journal of Environmental Research and Public Health. 16(7), p. 1255. https://doi.org/10.3390/ijerph16071255
Jones, K., Lettenberger, C., & Wickel, K. (2011). A structural/strategic lens in the treatment ofchildren with obesity. The Family Journal. 19, pp. 340–346.
Kindsvatter, A., Duba, J.D., & Dean, E.P. (2008). Structuraltechniques for engaging reluctant parents in counseling. The Family Journal. 16, pp. 204–211.
Láng, A. (2018). Family Structure, Family Functioning, and Well-Being in Adolescence: A Multidimensional Approach. International Journal of Humanities and Social Science. 8(2), pp. 24-31.
Minuchin, S. (1974). Families and Family Therapy. Cambridge, MA:Harvard University
Press.Minuchin, S., & Nichols, M.P. (1998). Family healing: Strategies for hope and understanding. New York: Free Press.
Seligman, M.E.P., & Csikszentmihalyi, M. (2000). Positive psychology: An introduction. American Psychologist. 55, pp. 5-14.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)