การจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงในวัยรุ่น

ผู้แต่ง

  • เบญจมาภรณ์ รุ่งสาง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

การจัดการ, พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง, วัยรุ่น

บทคัดย่อ

พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงในวัยรุ่นเป็นพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดอันตรายทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและสร้างความเสียหายต่อสังคม พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัยทั้งปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านจิตใจ ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยจากเพื่อนและปัจจัยด้านชุมชน ดังนั้นแนวทางการจัดการช่วยเหลือจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายทั้งระดับครอบครัวและสถานศึกษาเพื่อให้วัยรุ่นเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีพฤติกรรมที่เหมาะสม สามารถปรับตัวอยู่ในครอบครัวและสังคมได้

References

จิราภา เต็งไตรรัตน์ และคณะ. (2554). จิตวิทยาทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณัฏฐาภรณ์ โสกัณฑัต. (2557). พฤติกรรมการใช้ความรุนแรง กรณีศึกษาการทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารกระบวนการยุติธรรม, 7(3), หน้า 99-119.

นงลักษณ์ วิชัยรัมย์ และคณะ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวด้านจิตสังคมและการมองโลกทางบวกกับการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่น. Nursing Journal of The Ministry of Public Health, 26(2), หน้า 65-75.

พิทักษ์พล บุณยมาลิก และคณะ. (2555). การพัฒนาและศึกษาความเที่ยงตรงของเครื่องมือประเมินเพื่อใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของนักเรียนอาชีวศึกษา. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57, หน้า 1-18.

วินีกาญจน์ คงสุวรรณ และคณะ. (2557). ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการจัดการความรุนแรงต่อการป้องกันพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนแกนนำเยาวชนระดับมัธยมศึกษา.วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์แลมนุษยศาสตร์, 20(4), หน้า 73-105.

ศรัญญา อิชิดะ, คมเพชร ฉัตรศุภกุล และสกล วรเจริญศรี. (2556). การศึกษาพฤติกรรมความรุนแรงของนักเรียนวัยรุ่น. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 7(2), หน้า 211-221.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.(2558). วิเคราะห์เด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก.

Brännström, L. et al. (2016). Aggression replacement training (ART) for reducing antisocial behavior in adolescents and adults: a systematic review. Aggression and violent behavior, 27, pp. 30-41. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.avb.2016.02.006

Estévez, E., Jiménez, T.I. & Moreno, D. (2018). Aggressive behavior in adolescence as a predictor of personal, family, and school adjustment problems. Psicothema, 30(1), pp. 66-73.

Farrington, D.P., H. Gaffney, & M.M. Ttofi. (2017). Systematic Reviews of Explanatory Risk Factors for Violence, Offending, and Delinquency. Aggression and Violent Behavior, 33, pp. 24–36.

World Health Organization. (2002). World report on violence and health. Retrieved from https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/42495/9241545615_eng.pdf?sequence=1

Downloads

เผยแพร่แล้ว

20-04-2020