กลวิธีการใช้ภาษาสื่อถึงตัวละครวรรณคดีที่ปรากฏ ในบทเพลงจากวรรณคดีไทย พ.ศ. 2559 – 2560
คำสำคัญ:
ตัวละครจากวรรณคดี, บทเพลงจากวรรณคดีไทยบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการใช้ภาษาสื่อถึงตัวละครในวรรณคดีที่ปรากฏในบทเพลงจากวรรณคดีไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2559 – 2560 บทความนี้ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากบทเพลงจากวรรณคดีที่ปรากฏในเว็บไซต์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2559 – 2560 รวมทั้งสิ้น 28 เพลง ผลการวิจัยพบว่า กลวิธีทางภาษาที่ปรากฏ มีดังนี้ 1) การใช้คำ ได้แก่ การใช้คำมีศักดิ์ การใช้คำสื่ออารมณ์ การใช้คำภาษาอังกฤษ และการใช้คำสแลง ทั้งนี้การใช้คำมีศักดิ์ปรากฏมากที่สุด สื่อให้เห็นว่าบทเพลงจากวรรณคดีไทยนิยมใช้ถ้อยคำที่สละสลวย 2) การใช้สำนวน ได้แก่ การใช้สำนวนเดิมและการใช้สำนวนใหม่ การใช้สำนวนเดิมปรากฏมากที่สุด เนื่องจากการใช้สำนวนที่มีมาแต่โบราณนั้นสามารถอธิบายเนื้อความต่าง ๆ ให้ผู้อ่านได้เข้าใจได้ง่ายและชัดเจน 3) การใช้ภาพพจน์ ได้แก่ ปฏิปุจฉา อติพจน์ อุปมา และอุปลักษณ์ การใช้ภาพพจน์ที่ปรากฏมากที่สุดคือ ปฏิปุจฉา ซึ่งเป็นภาพพจน์ที่แสดงการใช้คำถามโดยไม่ต้องการคำตอบ แต่ใช้เพื่อให้ผู้ฟังฉุกคิดหรือแสดงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ
References
กลับมาได้ไหม (พระราม). (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/12108
เกศราพร พรหมนิมิตกุล. (2555). ความงามของภาษาในเพลงลูกทุ่ง : กรณีศึกษาเพลงฮิตติดชาร์ตลูกทุ่งมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 9(2), หน้า 83-100.
แก้วหน้าม้า (ต้องสวยแค่ไหน). (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13677
ขันหมากล่ม. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/12389
คนข้างเธอ (เมียทศกัณฐ์). (2560). สืบค้นจาก http://www.lyric.in.th/lyric.php?n=24375
คนหน้าตาไม่ดี ที่เธอยังรัก (เงาะป่า สังข์ทอง). (2559). สืบค้นจาก http://www.lyric.in.th/lyric.php?n=11068
จารุวรรณ พุฑบัณฑิต และคณะ. (2543). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: แสงจันทร์การพิมพ์.
จินตะหราวาตี (คนที่ถูกลืม). (2559). สืบค้นจาก http://lyric.in.th/lyric.php?n=20310&s=artist
ใจไปถึง. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13501
ชำนาญ รอดเหตุภัย. (2522). สัมมนาการใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์.
ตราบนิรันดร์. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/12111
ตะเภาทอง (รับได้ไหม ไม่บริสุทธิ์). (2559). สืบค้นจาก https://www.lyrics.city/2017/04/im-not-a-virgin-girl-can-you-take-it.html
ตัวร้ายที่รักเธอ. (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11246
ในหนึ่งใจ.. มีหนึ่งเดียว (จากใจสีดา). สืบค้นจาก http://www.lyric.in.th/lyric.php?n=19816
พระราม. (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11270
พระราม (ขอโทษที่หูเบา). (2559). สืบค้นจาก http://www.lyric.in.th/lyric.php?n=35471
พระรามอกหัก. (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11298
พระลักษมณ์ (ผู้เสียสละ). (2559). สืบค้นจาก http://lyric.in.th/lyric.php?n=34286
พวงเพ็ญ สว่างใจ. (2551). คุณค่าทางวรรณคดีของบทละครร้องของไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พิเภก (ทำนายความรัก). สืบค้นจาก https://nuerpleng.blogspot.com/search/label
มโนราห์ (พระสุธน มโนราห์). (2560). สืบค้นจาก http://chordzaa.blogspot.com/2017/10/blog-post_36.html
รอ (นางเงือก). (2560). สืบค้นจาก https://nuerpleng.blogspot.com/2016/06/blog-post _3.html
รักกันที่ตรงไหน (เงาะป่า/สังข์ทอง). (2559). สืบค้นจาก http://lyricry.blogspot.com/2018/03 /nonrockshow.html
รักเกินห้ามใจ (ผีเสื้อสมุทร). (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11321
ลัดดา ปาณุทัย (2544). อิทธิพลของวรรณคดีไทยที่มีต่อเพลงไทยสากลในด้านเนื้อหาและรูปแบบ. นครราชสีมา: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครราชสีมา.
วัฒนชัย หมั่นยิ่ง. (2559). วิเคราะห์การใช้ภาษาภาพพจน์ ในมหาเวสสันดรชาดก (กัณฑ์ทานกัณฑ์) ฉบับเขมร. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 9(1), หน้า 32-55.
วีรวรรณ คลังกรณ์. (2540). บทเพลงลูกทุ่งของ ชาย เมืองสิงห์ : การศึกษาเชิงวิเคราะห์. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศิวิไล ชูวิจิตร. (2549). การวิเคราะห์การใช้ภาษาในเพลงไทยสากลของบริษัท อาร์.เอส.โปรโมชั่น 1992 จำกัด ช่วงปี พ.ศ. 2542 – 2546. สารนิพนธ์สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุวรรณมัจฉา. (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11309
หนุมาน. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13039
หนุมาน (ลมหายใจพลีให้เธอ). (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13153
หัวใจทศกัณฐ์ (Devil's Heart). (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/13025
อลิสา เลี้ยงรื่นรมย์. (2549). ลีลาภาษาในเพลงลูกทุ่งของครูสลา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อวสานรัก. (2560). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/12955
อาญาสองใจ (วันทอง). (2559). สืบค้นจาก http://lyric.in.th/lyric.php?n=20319
Fin วันทอง. (2559). สืบค้นจาก http://lyric.in.th/lyric.php?n=6660
I'M SORRY (สีดา). (2559). สืบค้นจาก https://www.siamzone.com/music/thailyric/11097
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)