คำเหมือนในภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส
คำสำคัญ:
คำเหมือน, รูปแบบของคำเหมือน, ภาษาอังกฤษ, ภาษาฝรั่งเศสบทคัดย่อ
Cognates เป็นคำที่มีตัวสะกดเหมือนกันและมีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายกันในสองภาษา ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส มี Cognates จำนวนมากมายหลายพันคำที่ผู้มีความรู้หนึ่งในสองภาษานี้สามารถเข้าใจได้อย่างไม่ผิดพลาด เหตุผลหนึ่งเนื่องจากประวัติศาสตร์ที่มีร่วมกันระหว่างสองภาษานี้ นับตั้งแต่ชาวฝรั่งเศสนอร์มันเข้าครอบครองอังกฤษในปี ค.ศ. 1066 ภาษาฝรั่งเศสได้กลายเป็นภาษาราชการของรัฐบาลและราชสำนักอังกฤษนานเนื่องหลายศตวรรษ จึงส่งผลให้คำศัพท์ภาษาฝรั่งเศสเข้ามา อยู่ในภาษาอังกฤษและปรากฏอยู่จนปัจจุบัน นอกจากนี้คำศัพท์ที่มาพร้อมกับการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ สิ่งประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมัยใหม่มักจะเป็นคำที่ใช้เหมือนกันในทุกภาษา ผู้เรียนภาษาฝรั่งเศสจึงสามารถใช้พื้นฐานความรู้ภาษาอังกฤษที่มีอยู่มาเรียนรู้คำศัพท์จำนวนมากในภาษาฝรั่งเศสได้อย่างรวดเร็ว การรู้จักรูปแบบของ Cognates จะช่วยเพิ่มทักษะความเข้าใจด้านการอ่านและการฟังได้อย่างมากสำหรับผู้เริ่มเรียนภาษาฝรั่งเศส
References
จันทิมา ชุวานนท์. (2549). เทคนิคการเรียนคำศัพท์ภาษาฝรั่งเศส. กรุงเทพฯ: ศูนย์ภาษามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
Babon, P. (2017) Les Mots Anglais en Français. Retrieved from https://www.francaisavecpierre.com/les-mots-anglais-en-francais/
Cziffra, M. (2016). Franglais et anglicismes: quand le français se met à parler anglais. Retrieved from: https://www.slate.fr/story/69533/francais-anglais-angliscismes-franglais
Leclerc, J. (2018). Les emprunts et la langue française, Histoire de la langue française. Retrieved from: http://www.axl.cefan.ulaval.ca/francophonie/HIST_FR_s92_Emprunts.htm
Morán, R. (2018). ELT through Cognates. In TESOL 2018, International Convention & English Language Expo. Chicago, Illinois. Retrieved from: http://www.cognates.org/
Pearson Education group companies. Longman Dictionary of Contemporary English. Retrieved from: https://www.ldoceonline.com/dictionary/cognate
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)