คุณลักษณะที่โดดเด่นบางประการของผู้บริหารของรัฐชั้นเยี่ยม
บทคัดย่อ
คุณลักษณะที่โดดเด่นของผู้บริหารชั้นเยี่ยมในภาครัฐมีหลายประการ เนื่องจากข้อจำกัดบางอย่าง ในบทความนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอเพียง 3 คุณลักษณะที่สำคัญ ได้แก่ คุณลักษณะทางด้านความเป็นผู้นำ ทางด้านจริยธรรม และทางด้านอุปนิสัย
ในด้านลักษณะความเป็นผู้นำ ควรจะเป็นผู้นำในบริบทสากล ในด้านจริยธรรม ผู้บริหารควรจะต้องสนองตอบผลประโยชน์ของประชาชน ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายต่าง ๆ มีความซื่อสัตย์สุจริต และพยายามทำให้องค์การของตน มีจริยธรรม ในด้านอุปนิสัย ผู้บริหารของรัฐจะต้องเป็นผู้ที่ไว้วางใจได้ มีความซื่อสัตย์ มีความเคารพต่อตนเองและผู้อื่น มีความรับผิดชอบบริหารงานในลักษณะที่ถูกต้องสมเหตุสมผล มีความเป็นพลเมืองดีและมีความรักและเมตตาต่อผู้อื่น
References
Goetsch, David L. and Stanley B. Davis (2006). Quality Management. New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Abdul Aziz et al. (2012). Leadership Practices in Public Sectors in Selected Countries, Journal of Management Policy and Practices, 13 (1): 98-99.
Henry, Nicholas. (2004). Public Administration and Public Affairs. New Jersey: Pearson Education, LTD.
Kelley, R.E. (1992). The Power of Followship. New York: Donbleday/Currency.
Michael Josephson (1995). The Six Pillars of Character. California: Josephoson Institute of Ethics.
Niyomyaht, Satit. (2017). Leadership in Organizations (Research Report). Bangkok: Bangkokthonburi University.
Worthley, J.A. (1981). Ethics and Public Management. Public Management. 10 (1): 41-47.
Yukl, Gary. (2013). Leadership in Organizations. Cousier/Westford: Pearson Education.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)