ห้องปฏิบัติการนวัตกรรมในภาครัฐ
คำสำคัญ:
นวัตกรรม, นวัตกรรมภาครัฐ, ห้องปฏิบัติการนวัตกรรมบทคัดย่อ
บทบาทของการออกแบบในภาครัฐและในนวัตกรรมของภาครัฐกำลังเพิ่มความสำคัญขึ้น องค์กรของรัฐได้เข้าร่วมสร้างนวัตกรรมกับองค์กรอื่น ๆ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำองค์กรเหล่านั้นเข้ามามีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่องในการออกแบบผ่านการใช้แนวคิดการออกแบบและใช้วิธีการออกแบบสำหรับทางแก้ไขปัญหาเชิงนโยบาย ห้องปฏิบัติการนวัตกรรมของภาครัฐกำลังกลายเป็นเครื่องมือในนวัตกรรมของภาครัฐสำหรับการทดลองและการแก้ปัญหา บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายลักษณะสำคัญวิธีการและแนวทางและกรณีของห้องปฏิบัติการนวัตกรรมภาครัฐในประเทศอุรุกวัย บทความนี้สรุปว่าห้องปฏิบัติการของภาครัฐเป็นโอกาสสำหรับหน่วยงานของรัฐในการร่วมสร้างทางแก้ไขปัญหาด้านนโยบายกับภาคเอกชน พลเมืองและภาคประชาสังคมและทำหน้าที่เป็นผู้สร้างนวัตกรรมสำหรับการแก้ปัญหาเชิงนโยบายที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนและต่อระบบนิเวศของปัญหา
References
Acevedo, S., & Dassen, N. (2016). Innovation for Better Management: The Contribution of Public Innovation Labs. Retrieved from https://publications.iadb.org/en/innovation-better-management-contribution-public-innovation-labs
Clark, A., & Craft, J. (2017). The Twin Faces of Public Sector Design. Governance, 32. pp. 5-21.
Fuller, M., & Lochard, A. (2016). Public policy labs in European Union Member States. Luxembourg: Publications Office of the European Union. Retrieved from https://ec.europa.eu/jrc/en/publication/public-policy-labs-european-union-member-states
McGann, M., Blomkamp, E., & Lewis, J.M. (2018). The rise of public sector innovation labs: experiments in design thinking for policy. Policy Sciences, 51, pp. 249-267.
McGann, M., Wells, T. & Blomkamp, E. (2019). Innovation labs and co-production in public problem solving. Public Management Review, 23 (2), pp. 297–316.
The Rockefeller Foundation. (2014). Social Innovation Labs. How Social Innovation Labs Can Advance your Work. Retrieved from http://globalknowledgeinitiative.org/pdf/Social-Innovation-Labs-External-Guide.pdf
Van Veenstra A.F., & Kotterink B. (2017). Data-Driven Policy Making: The Policy Lab Approach., 9th International Conference on Electronic Participation (ePart) 2017. (pp. 100-111). Russia: Springer, Cham.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)