การศึกษาความถี่ของคำศัพท์ภาษาฝรั่งเศสในตำรับอาหารไทย
คำสำคัญ:
ตำรับอาหารไทย, คำศัพท์ฝรั่งเศส, ความถี่ของศัพท์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำศัพท์ภาษาฝรั่งเศสในตำรับอาหารไทยที่มีความถี่สูง โดยผู้วิจัยได้สืบค้นเอกสารภาษาฝรั่งเศสเกี่ยวกับการปรุงอาหารไทยที่ปรากฏบนอินเตอร์เน็ต แล้วนำเอกสารมาวิเคราะห์คำศัพท์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์คำศัพท์ที่ http://textanalyser.net จัดลำดับความถี่ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์เอกซ์เซล สถิติที่ใช้ คือ ฐานนิยมและค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า คำศัพท์เกี่ยวกับตำรับอาหารไทยจากอินเตอร์เน็ตจำนวน 213,929 คำ มีรูปศัพท์ 2,975 รูป คำศัพท์ที่มีความถี่สูงสุดคือ de ปรากฏทั้งสิ้น 18,518 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 8.65 คำศัพท์ 2,000 คำแรก คิดเป็นร้อยละ 94.13 จากความถี่ของคำศัพท์ในเอกสารทั้งหมด ผลการวิจัยแสดงว่าคำศัพท์ภาษาฝรั่งเศสด้านการอาหารมีจำนวนจำกัด การเรียนรู้ศัพท์ในบริบทของการอาหารจึงควรทำได้ในระยะเวลาสั้น การเรียนการสอนภาษาควรให้ความสำคัญกับคำศัพท์ทางไวยากรณ์ด้วย เพราะมีความถี่สูง คำศัพท์บางคำมีความหมายเฉพาะสำหรับการครัว ดังนั้นจึงต้องให้ความสำคัญกับบริบทของคำศัพท์ ส่วนความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาก็มีความสำคัญต่อการเรียนรู้และสื่อสารภาษานั้น ๆ เช่นกัน นอกจากนี้ควรมีการวิจัยต่อเนื่องเกี่ยวกับการสร้างบทเรียนภาษาฝรั่งเศสเพื่อการปรุงอาหารไทยโดยใช้ศัพท์ที่มีความถี่สูงจากผลการวิจัยนี้
References
ก.พานิชย์เปิดงานTHAIFEX-Worldตั้งเป้าเพิ่มศักยภาพตลาดอาหารไทย. (2559). ฐานเศรษฐกิจ. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2559. จาก http://www.thansettakij.com/content/56298
จันทิมา ชุวานนท์. (2550). รายงานการวิจัยคำศัพท์ภาษาฝรั่งเศสในเอกสารการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้และการสอน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
จันทิมา ชุวานนท์. (2554). รายงานการวิจัยการวิเคราะห์คำศัพท์ภาษาฝรั่งเศสในเอกสารจริงด้านการโรงแรม. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
Beck, I. L., McKeown, M. G., and Kucan, L. (2002). Bringing words to life: Robust vocabulary instruction. New York: Guilford.
CNN Global News View. (2011). World's 50 best foods. Retrieved July 12, 2014, from http://travel.cnn.com/explorations/eat/worlds-50-most-delicious-foods-067535.
Francis, W.N. and Kucera, H. (1982). Frequency Analysis of English Usage. Houghton Mifflin : Boston.
Hillman, Howard. (2014) . Best 10 world cuisine rankings. Retrieved July 12, 2014, from http://www.hillmanwonders.com/cuisines/best_10_world_cuisines.htm
Lamy, Marie-Noëlle.2000. The Cambridge French-English Thesaurus. Cambridge : Cambridge University Press. 326p.
Lehr, Fran., Osborn, Jean., Hiebert, E.H. (2004). A Focus on Vocabulary, San Francisco: Pacific Resources for Education and Learning. Retrieved Aug 25, 2012, from http://textproject.org/assets/library/resources/Lehr-Osborn-Hiebert-2004-A-Focus-on-Vocabulary-Booklet.pdf
Popularsomething. (2011) Retrieved July 12, 2014, from http://www.popularsomething.com/2011/02/most-popular-cuisines-in-world.html
Rifai, Taleb. (2012). Global Report on Food Tourism. Spain: The World Tourism Organization (UNWTO). Textalyser, Retrieved on Feb 17, 2012, from: http://textanalyser.net
Thitthongkham, T. and Walsh, J. (2010). An Analysis of Factors Influencing the Competitiveness of the Thai Tourism Industry, paper presented at the ICBER 2010 (Kuala Lumpur: 26th-28th, 2010). Retrieved July 12, 2014. From http://jcwalsh.wordpress.com/2010/11/30/an-analysis-of-factors-influencing-the-competitiveness-of-the-thai-tourism-industry/(August 25, 2012.)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- บทความในวารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ ไม่ใช่ความคิดเห็นของกองบรรณาธิการ และไม่ใช่ความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการและ/หรือของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอก แต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
- บทความที่ได้รับตีพิมพ์จะมีการตรวจความถูกต้องเหมาะสมจากกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง (peer review) จำนวน 3 คน โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบผู้นิพนธ์ และผู้นิพนธ์ไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (double-blind peer review)