FACTORS INFLUENCING THE WASTE PERCEPTION FROM PRODUCT DEFECTS IN TEXTILE INDUSTRY

Main Article Content

ปรียาวดี ผลเอนก
นิภาวรรณ กันสำอาง

Abstract

The research was aimed 1) to study and to compare the waste perception from product defects in textile industry, a case study of Tietex Asia LTD, classified by personal factors; and 2) to study levels of the perception of waste from defect resulted from production process in textile industry. Sample size was 133 respondents, using self-enumeration method. Questionnaire was conducted. Percentage, mean, Standard Deviation, T-test, and One-way ANOVA were analyzed. The result showed that, there were statistically significant differences between gender, work position, operation training techniques, and the perception of waste from defect at 0.01. However, there were no statistically significant differences between personal factors, namely, age, education, and employment duration, and the perception of waste from defect. In addition, there was moderate level of waste perception from defect in this study.

Article Details

How to Cite
ผลเอนก ป., & กันสำอาง น. (2017). FACTORS INFLUENCING THE WASTE PERCEPTION FROM PRODUCT DEFECTS IN TEXTILE INDUSTRY. Journal of KMITL Business School, 7(2), 1–18. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fam/article/view/216262
Section
Research Article

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2560). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. กรุงเทพฯ: สามลดา.

จรัสพงษ์ ชุมพร. (2558). ศึกษาการรับรู้ความสูญเปล่าในโรงงานเกี่ยวกับระบบการทางานของโรงงาน: กรณีศึกษาสหกรณ์โคนมวังน้าเย็น จากัด. รายงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว.

จิรวัฒน์ ลือชัย และคณะ. (2555). อิทธิพลขององค์การแห่งการเรียนรู้ต่อความรู้และมีส่วนร่วมในการปรับปรุงงานเพื่อลดความสูญเปล่า กรณีศึกษา บริษัท อุตสาหกรรมทาเครื่องแก้วไทย จำกัด (มหาชน). วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 11 (1), 220-229.

ชิตามาส อนุพงษ์ มนัส ไพฑูรย์เจริญลาภ และ ณัฐวุฒิ โรจน์นิรุตติกุล. (2558). เทคนิคที่มีผลต่อความสูญเปล่าจากการเคลื่อนไหวในกระบวน การผลิตเลนส์แว่นตา บริษัทเอสซีลอร์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์]. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. จาก www.inded.kmitl.ac.th/journal/file/844.doc.

จันทิมา พันทาส. (2558). ความคิดเห็นที่มีต่อการนาระบบมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9001 มาใช้ในมุมมองของพนักงาน บริษัท Caterpillar Underground Mining (UGM) จังหวัดระยอง. รายงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2550). การวิจัยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: วี.อินเตอร์ พริ้นท์.

ธีรวัฒน์ คาสวัสดิ์และณัฐวุฒิ โรจน์นิรุตติกุล. (2558). ปัจจัยด้านองค์การที่มีอิทธิพลต่อผลการดาเนินงานของการนาระบบการผลิตแบบลีนมาใช้ในบริษัทฮันทส์แมน (ประเทศไทย) จำกัด. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 14(3), 546-553.

บลประภา สืบญาติ สมศักดิ์ คูหาสวรรค์เวช และณัฐวุฒิ โรจน์นิรุตติกุล. (2558). การจัดการสินค้าคงคลังของบริษัทในกลุ่มซากุระ อินดัสทรี้ ประเทศไทยและประเทศเวียดนาม. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 14(3), 24-30.

นัสวรรณ เสนพลกรัง ณัฐวุฒิ โรจน์นิรุตติกุลและวรนารถ แสงมณี. (2556). เจตคติที่มีต่อระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001:2004 ของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัทสมบูรณ์แอ๊ดวานซ์เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน). วิทยาลัยการบริหารและจัดการ. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 12(3), 81-88.

แผนกบุคคลและธุรการ. (2557). คู่มือพนักงานระเบียบข้อบังคับในการทำงาน. บริษัท ไทเท็กซ์ เอเชีย จำกัด.

ฝ่ายขาย บริษัท ไทเท็กซ์ เอเชีย จำกัด . 30 ตุลาคม 2558. เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย บริษัท ไทเท็กซ์ เอเชีย จำกัด. สัมภาษณ์.

ฝ่ายบริหารงานคุณภาพ บริษัท ไทเท็กซ์ เอเชีย จำกัด . 28 ตุลาคม 2558. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารงานคุณภาพ บริษัท ไทเท็กซ์ เอเชีย จำกัด. สัมภาษณ์.

พรรณี ลีกิจวรรธนะ. (2553). วิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ: มีน เซอร์วิส ซัพพลาย.

พิเชษฐ์ จันทวี. (2558). การรับรู้และการมีส่วนร่วมของการปฏิบัติงานในการลดความสูญเปล่าใน กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น้ำ. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2559, จาก http://www.it.ubru.ac.th/journal/images/Vol5No2/vol5_2_7.pdf.

ภานุกร ศรีทรัพย์และคณะ. (2559). ความรู้เกี่ยวกับความสูญเปล่าของระบบการผลิตแบบโตโยต้าของ พนักงานในบริษัทเอ็น เอช เค สปริง (ประเทศไทย) จำกัด. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2559, จาก www.inded.kmitl.ac.th/journal/file/434_edit.do.

สมบูรณ์ คงทองวัฒนา และคณะ. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดการของอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 15(2), 141-148.

สุดาทิพย์ สุวรรณโชติ. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับรู้สาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุของพนักงานโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์นม UHT สหกรณ์โคนมวังน้าเย็น จำกัด ที่ก่อให้เกิดความสูญเปล่า. รายงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2559). คลัสเตอร์สิ่งทอ. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2558, จาก http://www.nstda.or.th/cpmo/index.php?option.

Fynes, B, Burca, S.D. (2005). The Effects of Design Quality on Quality Performance. International journal of production economics, 96, p. 1-14.