การพัฒนาความสามารถในการออกเสียงและการสื่อสารภาษาจีนโดยการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์เป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Main Article Content

สาธิยา พันเทศ
ไพทยา มีสัตย์

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการออกเสียงและการสื่อสาร ภาษาจีนของนักเรียน โดยการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์เป็นฐาน ก่อนเรียนและหลังเรียน 2) เปรียบเทียบความสามารถในการออกเสียงและการสื่อสารภาษาจีน หลังเรียนโดยการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์เป็นฐาน กับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนภาษาจีนโดยการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์เป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนเจี้ยนหัว จำนวน 44 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนโดยการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์เป็นฐาน 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการออกเสียงและการสื่อสารภาษาจีน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจมีต่อการเรียนภาษาจีนโดยการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์เป็นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ตรวจสอบสมมุติฐานโดยใช้ t-test for One sample และ t-test for Dependent samples สรุปผล ในรูปตารางและการพรรณนา อภิปรายผล
ผลการวิจัยพบว่า


1) ผลการเปรียบเทียบความสามารถการออกเสียงภาษาจีน โดยการเรียนรู้ ด้วยสถานการณ์เป็นฐาน นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ( t=18.897*)


2) ผลการเปรียบเทียบความสามารถการสื่อสารภาษาจีน โดยการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์เป็นฐาน นักเรียนมี คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (t=44.384*) 3) ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการออกเสียงภาษาจีนของนักเรียน หลังเรียนโดยการเรียนรู้ ด้วยสถานการณ์เป็นฐาน มีคะแนน ต่ำเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (t=1.243*) 4) ผลการเปรียบเทียบความสามารถการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนมีคะแนนต่ำเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ (t=.308*) 5) นักเรียนมี ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนรู้ภาษาจีนด้วยสถานการณ์เป็นฐานอยู่ในระดับมาก (gif.latex?\bar{x&space;}= 4.47 , S.D.= 0.51)

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

ไชยฉัตร โรจน์พลทามล. (2562). การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาการท่องเที่ยวชั้นปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ตุลยนุสรญ์ สุภาษา, และฉี เสวียหง. (2560). การศึกษาปัญหาการออกเสียงภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วารสารบัณฑิตวิจัย, 8(1), 120-121.

ตวงทิพย์ โสฬสเสาวภาคย์. (2557). การพัฒนากิจกรรมสถานการณ์จําลอง เพื่อเสริมสร้างความสามารถในด้านการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยใช้บริบทเมืองเพชรบุรีสําหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ. วิทยาลัยอาชีพเพชรบุรี, เพชรบุรี.

ธนภณ ไชยชนะ. (2557). การพัฒนาการเขียนพินอิน (สระลดรูป) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย (รายงานผลการวิจัย). โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย.

นภาพร บำรุงศิลป์. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาจีนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พวงมณี ตันติวงศ์. (2550). ศึกษาการใช้สถานการณ์จำลองในการสอนภาษาอังกฤษท่องเที่ยว. วิทยานิพนธ์ปริญญศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.

บวรจิต พลขันธ์. (2551). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุญชม ศรีสะอาด (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ลลนา เลิศจิระวงศ์ (2563). การพัฒนาความยึดมั่นผูกพันของผู้เรียนและความสามารถในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาจีนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผ่านกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2560). มิติใหม่แห่งการเรียนการสอนภาษาจีนในศตวรรษที่ 21.[ออนไลน์] ได้จาก https://www. chiangmainews.co.th/page/archives/626374/ [สืบค้นเมื่อ วันที่ 10 ธันวาคม 2563].

วรางคณา เค้าอ้น. (2560). การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

วิภาวรรณ สุนทรจามร. (2559). รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศระดับประถมศึกษา

(รายงามการวิจัย). สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

ศรีวิไล พลมณี. (2545). พื้นฐานการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสาวนีย์ ดำรงโรจน์สกุล, และสุภา พูนผล. (2560). ปัญหาการออกเสียงและการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยให้นักศึกษาจีน. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 27(2), 37-39.

สุขสม สิวะอมรรัตน์. (2552). ผลของการใช้สถานการณ์จําลองที่มีต่อความสามารถในการททำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปี ที่ 5 โรงเรียนวัดเลียบราษฎร์บํารุง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Abdu-Allah, A. (2013). The Effect of Dramatised Scenarios on the Mastery of Segmental and Supra Segmental Features of EFL Prospective Teachers and their Success and Failure Attributes. (Unpublished Master’s Thesis). Zagazig University, Egypt.

Al-Attar. (2019). The Effectiveness of Using Scenario-Based Learning Strategy in Developing EFL Eleventh Graders’ Speaking and Prospective Thinking Skills. The Islamic University, Pakistan.

Ausubel, D.P. (1963). The Psychology of Meaningful Verbal Learning. New York : Gruner and Stratton.

Chen E. (2006). A Study of Pronunciation Errors to Thai Students in the Process of Learning Chinese Language. Master dissertation, School of literature and Journalism Yunnan Normal University China PRC.

Cordeau, M.A. (2013). Teaching Holistic Nursing Using Clinical Simulation Journal of Nursing Education and Practice: A Pedagogical Essay,3(4), 40-50.

Errington, E.P. (2010). Preparing Graduates for the Professions Using Scenario Based Learning. Brisbane: Post Pressed.

Gall, M. D., Borg, W. R., and Gall, J. P. (1996). Educational Research: An Introduction. Longman Publishing, New York.

Hursen, C., & Fasli, F. G. (2017). Investigating the Efficiency of Scenario Based Learning and Reflective Learning Approaches in Teacher Education. European Journal of Contemporary Education, 6, 264 - 279.

Jiang, J. (2014). Chinese Phonetic Research and Teaching Countermeasures for Middle School and High school Students. Master dissertation. Faculty of Arts Sichuan Normal University, China PRC.

Kissling, E. M. (2013). The Modern Language Journal. Teaching Pronunciation: is explicit phonetics instruction beneficial for FL Learners?, 97(3), 720-744.

Lin, H. & Wang, Q. (2005). Journal of Chinese Language and Computer. Mandarin rhythm: An Acoustic Study, 17, 127–140.

Lu, J. (2013).The Plan of Chinese Phonetic Alphabet and the Chinese Teaching. Applied Linguistics, 4, 11-14.

Luksaneeyanawin, S. (1983). Intonation in Thai. Unpublished Ph.D. Thesis, University of Edinburgh, UK.

Meesat, P. (2015). Somatically-Enhanced Approach (SEA) in intensive Thai Course for Academic Purposes. Unpublished Ph.D. Thesis, University of Canberra, Australia.

Nunan,D. (2004). Task-Based Language Teaching. Cambridge: Cambridge University Pree.

Oller, John W. (1979). Language Test at School: A Pragmatic Approach. London: Longman.

Schmitt, N., & Schmitt, D. (2012). A Reassessment of Frequency and Vocabulary Size in L2 Vocabulary Teaching. Language Teaching, 1–20.

Seker, M. (2016). Scenario-Based Instruction Design as a Tool to Promote Self-Regulated Language Learning Strategies. SAGE Open, 16, 2-3.

Vallori, A. B. (2014). Meaningful Learning in Practice. Journal of Education and Human Development, 3(4), 199-209.

Zhang, F. (2006). The Teaching of Mandarin Prosody: A Somatically-Enhanced Approach for Scond Language Learners. Unpublished Ph.D. Thesis, University of Canberra, Australia.