ระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ สำหรับนักศึกษาครู สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

Main Article Content

ภัทรดร จั้นวันดี
ทิพย์เกสร บุญอำไพ
นคร ละลอกน้ำ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ สำหรับนักศึกษาครูสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน วัตถุประสงค์เฉพาะ 1) ศึกษา องค์ประกอบของระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพฯ 2) ทดสอบประสิทธิภาพชุดการสอนโดยใช้เกณฑ์ประสิทธิ- ภาพ 80/80 3) เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาครูที่มีต่อการเรียน ด้วยชุดการสอน 5) ประเมินรับรองระบบการสอนจากผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและด้านหลักสูตรการสอนและวัดผลประเมินผล 2) นักศึกษาครู จำนวน 40 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินรับรองระบบ เครื่องมือวิจัยได้แก่ 1) ระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ 2) ชุดการสอน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) แบบสอบถาม ความพึงพอใจ 5)แบบประเมินทักษะการทำโครงงาน 6) แบบประเมินรับรองระบบการสอนจากผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยการทดสอบแบบที
ผลการวิจัยพบว่า 1. ระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพฯ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 1) การวิเคราะห์บริบท 2) การกำหนดปัจจัยนำเข้า 3) กระบวนการจัดการเรียนการสอน 4) ผลการประเมิน และ 5) การตรวจสอบและ ปรับปรุงระบบ 2. ประสิทธิภาพชุดการสอนตามลำดับดังนี้ หน่วยที่ 1 เท่ากับ 79.63/80.37 หน่วยที่ 2 เท่ากับ 79.26/80.37 หน่วยที่ 3 เท่ากับ 80.74/81.48 และหน่วยที่ 4 เท่ากับ 79.63/81.90  3. ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดการสอนตามการออก แบบของ ระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพฯ มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. นักศึกษาครูมีความพึงพอใจระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ อยู่ในระดับมากที่สุด 5. ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินรับรองระบบการสอนแบบร่วมมือภควันตภาพ อยู่ในระดับมากที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กรมวิชาการ. (2544). ความรู้เกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์พัฒนาหนังสือกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพิมพ์องการรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.)

เกล็ดนที ไชยชนะ. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมยูบิควิตัสที่ส่งเสริมความสามารถในการคิด แก้ปัญหาสำหรับ

การศึกษาระดับอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2555). ภาพอนาคตการศึกษาไทย: สู่การศึกษาภควันตภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 1

--------. (2555 ). สามัญทัศน์เกี่ยวกับการวิจัยทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. ในการวิจัยเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา. ประมวลสาระชุดวิชา 27702 (หน่วยที่ 1-6). นนทบุรี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.

ทรงศักดิ์ สองสนิท. (2552). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือบนเว็บโดยใช้พื้นฐานการเรียนรู้แบบโครงงาน. วิทยานิพนธ์

ปร.ด. : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ภูชิศ สถิตพงษ์. (2560). การพัฒนาระบบการสอนภูมิศาสตร์แบบภควันตภาพ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคตะวันออก

เฉียงเหนือตอนล่าง. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

นพดล ผู้มีจรรยา.(2557). การให้บริการแบบเคลื่อนที่สำหรับมหาวิทยาลัยอัจฉริยะ. วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา.4(7), 34-42

บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. (2546). เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์ศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาศาสตร์เกษตรศาสตร์.

เพชร รองพล. (2562). ระบบการสอนแบบอิงประสบการณ์ภควันตภาพ เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ลัดดา ภู่เกียรติ. (2543). “กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน”. ในนวัตกรรมการเรียนรู้สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา.

พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์และคณะ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์ (2545) จิตวิทยาการปรับตัว พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ,

วิทยา อารีราษฎร์. (2549). การพัฒนารูปแบบการสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแบบอัจฉริยะและมีส่วนร่วมผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์.

วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

สุญาณี เดชทองพงษ์. 2545. ผลการใช้เครื่องมือ การสื่อสารแบบร่วมมือในการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายที่มีต่อเมตาคอคนิชันและ

สมรรถนะการเขียนภาษาอังกฤษระหว่างนักเรียนไทยและจีนในระดับมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ . (2550). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ.

อภินันท์ จุลดิษฐ์ (2561). การพัฒนาระบบการเรียนแบบภควันตภาพในกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านดนตรีไทยสำหรับนิสิตปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

Johnson,D.W. and Johnson, R.T.(1994). The Nuts and Bolts of Cooperative Learning Minnesota : Interaction Book

Company.

Jones, V., Jo, J.H. (2004). Ubiquitous learning environment: An adaptive teaching system using ubiquitous

technology. In R. Atkinson, C. McBeath, D. Jonas-Dwyer & R. Phillips (Eds).

Rolf, J. Lenschow. (1996). European Journal of Engineering Education. [online].

Slavin, R. E. (1995). Cooperative Learning. Boston: Allyn and Bacon.