การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้เกมการศึกษาและเพลง เพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2

Main Article Content

สุพัตรา เลขาวิจิตร

บทคัดย่อ

กำรวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ โดยใช้เกมกำรศึกษำและเพลง ที่มีประสิทธิภำพตำมเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบควำมพร้อมทำงคณิตศำสตร์ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบำลปีที่ 2 ที่ได้รับจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ โดยใช้เกมกำรศึกษำและเพลง ก่อนและหลังเรียน 3) เพื่อศึกษำควำมพึงพอใจของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบำลปีที่ 2 ที่มีต่อกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ โดยใช้เกมกำรศึกษำและเพลง กลุ่มตัวอย่ำงได้แก่เด็กปฐมวัย ชั้นอนุบำลปีที่ 2/8 โรงเรียนเทศบำล 3 (ห้ำธันวำคม) อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร ปีกำรศึกษำ 2559 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 30 คน โดยกำรสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัยประกอบด้วย 1) แผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้โดยใช้เกมกำรศึกษำและเพลง จำนวน 20 แผน 2) แบบประเมินควำมพร้อมทำงคณิตศำสตร์ ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบำลปีที่ 2 จำนวน 20 ข้อ และ 3) แบบสอบถำมควำมพึงพอใจของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบำลปีที่ 2 ที่มีต่อกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้โดยใช้เกมกำรศึกษำและเพลง สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ใช้ค่ำร้อยละ (%) ค่ำเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (S.D.) ค่ำที t-test แบบ Independent) 
ผลการวิจัยพบว่า 
1) ประสิทธิภำพของกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ โดยใช้เกมกำรศึกษำและเพลง เท่ำกับ 85.90/89.00 
2) ควำมพร้อมทำงคณิตศำสตร์ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบำลปีที่ 2 ที่ได้รับจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ โดยใช้เกมกำรศึกษำและเพลง หลังเรียนสูงกว่ำก่อนเรียนอย่ำงมีนัยสำคัญทำงสถิติที่ระดับ.05                                                                                                         3) เด็กปฐมวัย ชั้นอนุบำลปีที่ 2 มีควำมพึงพอใจต่อกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ โดยใช้เกมกำรศึกษำและเพลง ในระดับพอใจมำก (x̄= 2.61)

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ (2540) หลักสูตรก่อนประถมศึกษา. กรุงเทพาฯ : ม.ป.ท.

_______.(2552).หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

_______.(2554). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2554.กรุงเทพาฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

กาญจนา ทับผดุง. (2556). การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง การสังเกตการจำแนกและการเปรียบเทียบ โดยใช้เกมการศึกษาสำหรับนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. ครุศาสตรมหาบัณฑิต

(สาขาหลักสูตรและการสอนภาษาอังกฤษ). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

จงจิต เค้าสิม. (2552). การศึกษาเปรียบเทียบ ความพร้อมทางการเรียนภาษาไทย และความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนระดับก่อน

ประถมศึกษา ที่ได้รับการฝึกทักษะ โดยวิธีการละเล่นพื้นบ้านของเด็กไทย กับวิธีการฝึกทักษะตามคู่มือครู ของกระทรวงศึกษาธิการ . มหาวิทยาลัยขอนแก่น่.

ทอรุ้ง สำเร็จเฟื่องฟู. (2558). ผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์.

ทิศนา แขมมณี.(2554). ศาสตร์การสอน:องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิตยา ประพฤติกิจ. (2551). การพัฒนาเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : ภาคพัฒนาตำราและเอกสารวิชาการ หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู.

บุญเยี่ยม จิตรดร. (2532). การจัดประสบการณ์เพื่อสร้างมโนมติทางคณิตศาสตร์ ในเอกสารการสอนชุดวิชาการสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต ระดับปฐมวัยศึกษาหน่วยที่ 1-7, พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,

พรทิพย์ กันทาสม. (2552). ผลการใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ของเด็กปฐมวัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พรพิมล ช่วยชูวงศ์. (2555). การจัดประสบการณ์โดยใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และทักษะการคิดเชิงเคราะห์สำหรับเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา.

ภรณี คุรุรัตนะ และคณะ. (2542) การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เซเว่นพริ้นติ้งกรุ๊ป,

มนัญญา บุษยะมา. (2543). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ที่เน้นการพัฒนาความคิดสร้างสรรคของนักเรียนชั้นอนุบาล. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น .

เยาวพา เดชะคุปต์. (2552) ดนตรีและกิจกรรมเข้าจังหวะสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอพีกราฟฟิคดีไซน์, โรงเรียนเทศบาล ๓

ห้าธันวาคม. (2558) หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนเทศบาล ๓ ห้าธันวาคม พุทธศักราช 2546 ฉบับปรับปรุง 2558. ยโสธร : โรงเรียนเทศบาล ๓ ห้าธันวาคม,

ลัดดา นีละมณี. (2541). คู่มือครูอนุบาลนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ศูนย์การเรียนกิจกรรมเสรี ระดับเด็กวัยก่อนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บรรณกิจ,

สกล ป้องคำสิงห์. (2553). การพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์เกมการศึกษาจากสื่อธรรมชาติ สำหรับเตรียมทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

วรณัน ขุนศรี. (2552). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะในการคิด ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์, วารสารวิชาการ 12 (3) 60-66

วรรณี โสมประยูร และประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิต. (2538). คู่มือ–แนวการสอนชุดเตรียมความพร้อมแบบบูรณาการ ชั้นอนุบาลปีที่ 1. กรุงเทพฯ : ประสานมิตร.

สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). แนวดำเนินงานของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : คุรุสภา.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. (2556) กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาเด็กอนุบาล (เกมการศึกษา). กรุงเทพฯ : คณะกรรมการการศึกษาเอกชน,

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553) แนวทางการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งที่ 2, โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด,

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2551). นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์9119

เทนนิคพริ้นติ่ง.

หรรษา นิลวิเชียร. (2550) ปฐมวัยศึกษาหลักสูตรและแนวปฏิบัติ แผนกวิชาประถมศึกษา. ปัตตานี :คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,

Kito, Honda & Kami . (2006) .A Card Game to Encourage Logics Mathematical Thinking Young Children on the web . Italy : Bologna.