การพัฒนาระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Main Article Content

ศุภกร พันธุ์เสนา
ธนดล ภูสีฤทธิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) พัฒนาระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3) ประเมินประสิทธิภาพของระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4) ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหาร บุคลากร ต่อการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กลุ่มประชากร ประกอบด้วย ผู้บริหาร บุคลากร และเจ้าหน้าที่ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถามสภาพปัญหาและความต้องการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) ระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการกองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3) แบบประเมินคุณภาพของระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4) แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบ ระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 5) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบกำกับและติดตามการ ยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลวิจัยพบว่า 1) ผู้บริหาร บุคลากร และเจ้าหน้าที่ มีปัญหาและความต้องการใช้งานระบบสารสนเทศ อยู่ในระดับมาก 2) ผลการประเมินความเหมาะสมของระบบสารสนเทศ จากผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3) ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคามจากผู้ใช้งาน อยู่ในระดับมากที่สุด 4) ผู้บริหาร บุคลากรและเจ้าหน้าที่ มีความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบกำกับและติดตามการยืมเงิน คืนเงินยืม เบิกจ่ายเงินราชการ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อยู่ในระดับมากที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กนกวรรณ พรมวิเศษ. (2552). การพัฒนาระบบติดตามงบประมาณออนไลน์ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัด

นครราชสีมา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.

กรรณิการ์ อุทสาร. (2556). การศึกษาการจัดระบบสารสนเทศในโรงเรียนประถมศึกษา อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

กองแผนงาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2556). ระเบียบปฏิบัติงานงานบริหารทั่วไป. [ออนไลน์]. ได้จาก : http://www.plan.msu.

ac.th/thai/iso-56/file/QP-PN-04-20140210223508.pdf. [สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562].

_____. (2560). แผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับที่ 12 (2560 - 2564). [ออนไลน์]. ได้จาก : https://pd.msu

ac.th/pd4/file/MMNFAASKGQWGRJQWLFRJJLJF.pdf.[สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562].

_____. (2561). แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2561. [ออนไลน์]. ได้จาก : http://www.plan.msu.ac.th/thai/upload/

datadownload/ attach/2220180112lCRCZyJplan61.pdf. [สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2562].

คะนึงศรี นิลดี. (2560). การพัฒนาระบบสารสนเทศงานสารบรรณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม :

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2537). เทคโนโลยีทางการศึกษา : ทฤษฎีและการวิจัย. กรุงเทพฯ : โอเอส.

______. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 7-19.

ประพาพร มั่นคง. (2560). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามวิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2554). คำสั่งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ 5475/2554 เรื่อง การแบ่งงานในหน้าที่ความรับผิดชอบ

ของกองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วีราภรณ์ เชยรัมย์. (2560). การพัฒนาระบบสารสนเทศการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพของ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12.

ออนไลน์]. ได้จาก : http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link. php?nid=6422. [สืบค้นเมื่อ16 พฤศจิกายน 2562].

Lunenburg, F.C. and A.C. Ornstein. (1996). Educational Administration Concepts and Practices. 2nd ed. Belmont,

CA : Wadsworth Publishing Company.

Nayden Nenkov, T.T. and M. Petrova. (2017). SOFTWARE SYSTEM FOR DOCUMENT MANAGEMENT AT THE

FACULTY TO UNIVERSITY. International Multidisciplinary Scientific Conference on Social Sciences & Arts SGEM.

Schoderbek, P.P., Schoderbek, C.G. and A.G. Defalas. (1990). Management Systems: Conceptual Consideration.

Boston : Richard D. Irwin Inc.

Smith, A.W. (1982). Management System : Analysis and Application. Japan : CBS College Publishing.