การพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยใช้สื่อประสม เรื่อง ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Microsoft word 2013) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Main Article Content

ชุติมา ธนาวัฒนากร

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยใช้สื่อประสม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยใช้สื่อประสม 3) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยใช้สื่อประสม 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยใช้สื่อประสม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/5 โรงเรียนเทศบาลพลประชานุกูล ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 29 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E จำนวน
10 แผน เวลา 20 ชั่วโมง 2) สื่อประสมที่ประกอบด้วยบทเรียนบนเว็บและชุดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอิงเกณฑ์ วิชาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 30 ข้อ จำนวน 1 ชุด 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยใช้สื่อประสม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที (t-test)


ผลการวิจัยพบว่า


1. การจัดกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E โดยใช้สื่อประสม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.80 /84.83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 80/80                                                                                                                                                                                 


2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ซึ่งเรียนด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบ 5E โดยใช้สื่อประสม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01


3. ดัชนีประสิทธิผลของการจัดกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E โดยใช้สื่อประสม มีค่าเท่ากับ 0.7255 แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 72.55


4. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E โดยใช้สื่อประสม อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.55

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Research Article

References

กระทรวงศึกษําธิกําร. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์กํารเกษตรแห่งประเทศไทย.

กิดํานันท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีกํารศึกษําและนวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬําลงกรณ์มหําวิทยําลัย.

จริยํา เหนียนเฉลย. (2549). เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีจำกัด.

ใจทิพย์ ณ สงขลํา. (2542). กํารสอนผ่ํานเครือข่ํายเวิลด์ไวด์เว็บ วารสารครุศาสตร์. 27(3).

ชนิกํา บัวเผียน. (2556). การสร้างสื่อประสมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง “สารในชีวิตประจําาวัน สําาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 . วิทยํานิพนธ์ ครุศําสตรมหําบัณฑิต สําขําวิชําวิทยําศําสตรศึกษํา มหําวิทยําลัยรําชภัฏสงขลํา.

ชัชพิชฌํา วรวงศ์. (2557). ผลการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง อาหารกับการดําารงชีวิตโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E). วิทยํานิพนธ์ปริญญําคุรุศําสตรมหําบัณฑิต.บุรีรัมย์ :มหําวิทยําลัยรําชภัฏบุรีรัมย์.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2531). ชุดการสอนระดับประถมศึกษา. (เอกสารประกอบคําาสอน). กรุงเทพฯ : ภําพพิมพ์.

______. (2545). เอกสารการสอนชุดวิชาการสื่อสารการสอนระดับประถมศึกษา หน่วยที่ 8-15 (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ : มหําวิทยําลัยสุขโขทัยธรรมําธิรําช

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2548). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 9. มหําสํารคําม : ภําควิชําเทคโนโลยี และสื่อสํารกํารศึกษํา คณะศึกษําศําสตร์ มหําวิทยําลัยมหําสํารคําม.

ถนอมพร เลําหจรัสแสง. (2544). กํารสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) นวัตกรรมเพื่อคุณภําพกํารเรียนกํารสอน. วารสารศึกษาศาสตร์. 28 (1), 87-94

ธชํามําศ รัตนจินดํา. กํารพัฒนําสื่อประสมเชิงปฏิสัมพันธ์เรื่องระบบหํายใจ กลุ่มสําระกํารเรียนรู้ สุขศึกษําและพลศึกษํา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษําปีที่ 4, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 24,3 : 157.

นรําพันธ์ สมําทอง. (2558). ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สะท้อนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เรื่องแรง และความดันโดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 5E สําาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 5.วิทยํานิพนธ์ครุศําสตรมหําบัณฑิต สําขําหลักสูตรและกํารจัดกํารเรียนรู้ มหําวิทยําลัยรําชภัฏบุรีรัมย์

บุญเกื้อ ควรหําเวช. (2545). นวัตกรรมทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : ภําควิชําเทคโนโลยีกํารศึกษํา มหําวิทยําลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ประดิษฐ์ เอกทัศน์. (2539). จิตวิทยาทั่วไป. มหําสํารคําม: ภําควิชําจิตวิทยําและกํารแนะแนว คณะครุศําสตร์ สถําบันรําชภัฎ

มหาสารคําม.

ปําณิสรํา ตําชัยภูมิ. (2558). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับผังมโนทัศน์ที่ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. คุรุศําสตรมหําบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ศึกษํา) มหําวิทยําลัยรําชภัฏมหําสํารคําม.

พัชรินทร์ คะเสนํา. (2557). การสร้างชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารในชีวิตประจําาวัน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E). วิทยํานิพนธ์ ครุศําสตร มหําบัณฑิต สําขําหลักสูตรและกํารสอน

มหําวิทยําลัยรําชภัฏรําชนครินทร์.

พิเชษฐ์ กํางโหลน. (2557). การใช้สื่อประสมจากอินเทอร์เน็ตเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้รายวิชาชีววิทยา เรื่อง พื้นฐานของเซลล์สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยํานิพนธ์ ศิลปศําสตรมหําบัณฑิต สําขําวิชํา กํารสอนวิทยําศําสตร์ มหําวิทยําลัยรังสิต.

พิมพ์สุดํา สันพนวัฒน์. (2558). กํารพัฒนําบทเรียนสื่อประสม เรื่องกํารเขียนโปรแกรมพื้นฐํานด้วยภําษําโลโกของนักเรียนชั้นมัธยม

ศึกษําปีที่ 2 โรงเรียนนํารีนุกูล .สังกัดสำนักงํานเขตพื้นที่กํารศึกษํามัธยมศึกษํา เขต 29. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.

โรงเรียนเทศบําลพลประชํานุกูล. (2559). รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2559. ขอนแก่น. รุ่งโรจน์ เจริญตัว. (2557).

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการเรียนการสอนบนเว็บแบบสืบเสาะ เรื่อง การใช้โปรแกรม PHOTOSHOP สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยํานิพนธ์ ปริญญําโท สําชําวิชําเทคโนโลยีและ สื่อสํารกํารศึกษํา มหําวิทยําลัยรําชมงคลธัญบุรี.

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง, และ อธิป จิตตฤกษ์ (ผู้แปล). (2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โอเพ้นเวิลด์.

วิจํารณ์ พํานิช. (2556). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ส.เจริญกํารพิมพ์. ศิรธันย์ เกียรติโสภณรักษํา. (2557).

ผลการเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียร่วมกับการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนละแมวิทยา.วิทยํานิพนธ์ปริญญําโทสําขําวิชําเอกเทคโนโลยีกํารศึกษํา คณะศึกษําศําสตร์ มหําวิทยําลัย

ศิลปํากร.

สถําบันรําชภัฏรำไพพรรณี. คณะครุศําสตร์. (2541). เครื่องมือและอุปกรณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา. จันทบุรี: สำนักวิทยบริกําร

สถําบันรําชภัฏรำไพพรรณี.สถําบันส่งเสริมกํารสอนวิทยําศําสตร์และเทคโนโลยี. (2557). รายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 3.

พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : สกสค.

สุจิต เหมวัล. (2555). ศาสตร์การสร้างและพัฒนาชุดกิจกรรม. ขอนแก่น : ทรัพย์สุนทรกํารพิมพ์ อุทัย ใหม่คํามิ. (2558) .

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามกระบวนการ เรียนรู้แบบวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5E เรื่อง การหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3. วิทยํานิพนธ์ ครุศําสตรมหําบัณทิต (คอมพิวเตอร์ศึกษํา)

มหําวิทยําลัยรําชภัฏมหําสํารคําม.

Duran, M. (2016). The effect of the inquiry-based learning approach on student’s critical think ing skill. Eurasia Journal of Mathematics & Technology Education,Online Available:file:///C:/Users/ Lenovo/Downloads/eurasia _2016_02311a.pdf on May 2017

Kazempour, E. (2013). The effects of Inquiry-based teaching on critical thinking of students. Jounal of Social Issues & Humanties, 1,

Patro, E. T.(2008). “Teaching Aerobic Cell Respiration Using tne 5E”. The American Biology Teacher 70 (2): 85-87.