RESEARCH STATUS IN TEACHING AND LEARNING THAI LITERATURE DURING 2012-2021

สถานภาพงานวิจัยด้านการเรียนการสอนวรรณคดีไทย ช่วงปี พ.ศ. 2555-2564

Authors

  • Arunothai Inthanid -

Keywords:

Research status, Teaching and Learning, Thai Literature

Abstract

This article aims to study the research status of teaching and learning Thai literature. The scope of study from the thesis studying the teaching and learning of Thai literature during 2012-2021 there were 40 theses from 17 universities were found. The research status of Thai literature teaching and learning has five main issues as follows: 1) universities that study Thai literature teaching and learning from the Doctor of Philosophy program Doctorate of Education This article aims to study the research status of teaching and learning Thai literature. It has defined the scope of the research from the study of 40 theses in teaching and learning in Thai literature from 2012-2021 from 17 universities. The result found that the status of Thai literature teaching and learning thesis has five issues 1) The University where studied Thai literature teaching and learning from the curriculum, i.e., Doctoral as Doctor of Philosophy, Doctor of Education; Master’s degree in Master of Education 2) Defining the objectives found that most theses in teaching in Thai literature usually defined the objectives were to comparing the ability and skill of the sample 3) Defining the scope of the population found that most of the sample has usually been secondary school students 4) The scope of context found that the researcher defined the context in literature from Basic Education Core Curriculum 5) In technology and theory concept found that 1. The researcher adopted the concept and theory for guidance to design teaching models, Innovation, and experiments or used the research and development. 2. To apply the theory for creating the learning plan and experiment. 3. Improvement teaching styles that were created and experimented. And the last one was 4. As well as a teaching series or adopt technology to create learning management materials and then goes to the experiment.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ครุสภาลาดพร้าว.

เกศินี ปุงปี่แก้ว. (2557). การใช้เทคนิคจิกซอว์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์และการเขียนเชิงวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เจตนา นาควัชระ. (2555). ทางสายกลางแห่งการวิจารณ์. กรุงเทพฯ: โอเพ่นบุ๊ค.

ชลธิชา ศิริอมรพันธุ์. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวรรณคดีไทยเชิงผลิตภาพ เพื่อส่งเสริมความรับผิดชอบ และสำนึกทางสังคม. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ชลธิชา หอมฟุ้ง. (2557). การพัฒนารูปแบบการสอนวรรณคดีไทยโดยประยุกต์ใช้อริยสัจสี่เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฐวุฒิ ประสมสุข. (2555). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT เพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการอ่านวรรณคดีไทย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวรรณคดีไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ทิศนา แขมมณี. (2564). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 25) กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธัญญาลักษณ์ สังข์แก้ว. (2562). การพัฒนารูปแบบการสอนวรรณคดีด้วย ACDEA เพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาครูภาษาไทย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(การสอนภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นันทญ์ณภัค พรมมา. (2563). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิด. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปัทมาภรณ์ พรดวงคำ. (2555). การพัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์วรรณกรรม โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเข็กน้อย จังหวัดเพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พรสุดา พรวัฒนกุล. (2558). การศึกษาผลการเรียนรู้วรรณคดีไทย กลอนบทละคร เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้สื่อประสม. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

พร้อมเพื่อน จันทร์นวล. (2560). การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม KAHOOT เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้วรรณคดีไทย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต.

ภูวภัสสร์ อินอ้าย. (2559). การพัฒนาชุดการสอนด้วยเทคโนโลยีออคเมนเต็ดเรียลลิตี เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ศึกไมยราพ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.

แสนรัก บัวทอง. (2559). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้เกมร่วมกับเพลงพื้นบ้าน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุภัทรพงศ์ รวงผึ้งรุ่งโรจน์. (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้วรรณคดีไทย โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง และทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์หลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

อรวรรณ อุดมสุข. (2564). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (CBL) ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทย เรื่อง กาพย์พระไชยสุริยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Downloads

Published

2022-12-30