THE EFFECTS OF USING THE TASK BASED LEARNING ON THAI LANGUAGE CREATIVE WRITING ABILITY AND AVIDITY FOR LEARNING OF GRADE 10 STUDENTS IN THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE KAMPHAENG PHET KAMPHAENG PHET PROVINCE

ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นภาระงานที่มีต่อ ความสามารถด้านการเขียนภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์และความใฝ่เรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร

Authors

  • สุรพงษ์ กล่ำบุตร -
  • Apirak Anaman
  • Suwannee Yahakon

Keywords:

Task Based Learning, Thai Learning Creative Writing, Writing Avidity for learning

Abstract

The purposes of this research were (1) to compare Thai language creative writing ability of grade-10 students before and after learning by Using the Task Based Learning; and (2) to compare Avidity for learning of grade-10 students before and after learning by Using the Task Based Learning. The research sample was gathered of 31 grade-10 students studying in semester 1, Academic Year 2021 at Watcharawittaya school in Mueang Kamphaeng district, Kamphaeng Phet province selected by multi-stage sampling. The employed research instruments were (1) a Thai language creative writing ability test, (2) an avidity assessment form and (3) 8 lesson plans based on Task Based Learning with 18 of total teaching hours. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test with the statistically significance level at .05. The results showed that (1) Thai language creative writing ability of grade-10 students after learning by using the Task Based Learning was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance; and (2) avidity for learning of grade 10 Students after learning by using the Task Based Learning was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance.

References

กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2552). เทคนิคการสร้างแรงจูงใจใฝ่เรียนรู้: เอกสารประกอบการบรรยายให้กับ คณาจารย์หมวดวิชาศึกษาทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

กองเทพ เคลือบพณิชกุล. (2542). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ณัฐสุชาวิรางค์ ไชยเดชกำจร. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนการเขียนเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. (ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

ถวัลย์ มาศจรัส. (2552). การเขียนเชิงสร้างสรรค์เพื่อการศึกษาและอาชีพตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติและ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: ธารอักษร.

นพวรรณ งามรุ่งโรจน์. (2561). เอกสารประกอบการสอนเรื่องความรู้เบื้องต้นของการเขียนเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ปุณยวีร์ แสงมนตรี. (2558). การพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้กลวิธีการคิดจากภาพเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการพูดและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

วิชัย วงษ์ใหญ่และมารุต พัฒผล. (2562). การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.

วีระพล บดีรัฐ. (2543). PDCA วงจรแห่งความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ประชาชน.

ศรัณย์พร ยินดีสุข. (2559). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความใฝ่รู้และแนวทางในการพัฒนาความใฝ่รู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. ทุนวิจัยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2560). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560. สืบค้นจาก http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/PDF/SummaryONET M6_2560.pdf.

__________. (2561). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561. สืบค้นจากhttp://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/PDF/SummaryONETM6_2561.pdf.

__________. (2562). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562. สืบค้นจาก http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/PDF/SummaryONETM6_2562.pdf.

สุทธิวรรณ อินทะกนก. (2559). การเขียนเชิงสร้างสรรค์. อุดรธานี: สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สุรัตนา อดิพัฒน์. (2561). การจัดการเรียนการสอนแบบเน้นภาระงานโดยบูรณาการเทคโนโลยีสำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา. ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2559). ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

__________. (2554). แนวทางการพัฒนา การวัดปละประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

อรวิภา มงคลดาว. (2558). แนวทางการส่งเสริมความใฝ่รู้ใฝ่เรียนของนักศึกษานอกระบบโดยใช้บริบทชีวิตประจำวัน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

อัจฉรา ชีวพันธ์. (2554). กิจกรรมการเขียนเชิงสร้างสรรค์ในชั้นประถมศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุไรวรรณ แซ่อ๋อง. (2553). การจัดการเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติและกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).

Ali Derakhshan. The Effect of Task-Based Language Teaching Instruction on the Iranian Intermediate EFL Learners’ Writing Performance. International Journal of Instruction. 11(4), pp. 527-544. Retrieved from http://www.e-iji.net/dosyalar/iji_2018_4_33.pdf.

Ellis, R. (2003). Task-based language learning and teaching. Oxford: Oxford University Press.

Lee, J. (2000). Tasks and Communicating in Language Classrooms. Boston: McGraw Hill.

Hamid Marashi and Lida Dadari. (2012). The Impact of Using Task-based Writing on EFL Learners’ Writing Performance and Creativity. Theory and Practice in Language Studies. 2(12), pp. 2500-2507. doi:10.4304/tpls.2.12.2500-2507.

Hanna Sundari, Rina Husnaini Febriyanti and Gustaman Saragih. (2018). Using Task-based Materials in Teaching Writing for EFL Classes in Indonesia. International Journal of Applied Linguistics and English Literature. 7(3), pp. 119-124. doi:10.7575/aiac.ijalel.v.7n.3p.119.

Mónica Rodríguez-Bonces and Jeisson Rodríguez-Bonces. (2010). Task-Based Language Learning: Old Approach, New Style. A New Lesson to Learn. Colombia: Universidad Nacional de Colombia.

Nunan, D. (2004). Task-based language teaching. Cambridge: Cambridge University Press.

Rai Zahoor Ahmed and Siti Jamilah Bt Bidin. (2016). The Effect of Task Based Language Teaching on Writing Skills of EFL Learners in Malaysia. Open Journal of Modern Linguistics. 6(3), pp. 207-218. doi:10.4236/ojml.2016.63022.

Reza Kafipour, Elaheh Mahmoudi and Laleh Khojasteh. (2018). The effect of task-based language teaching on analytic writing in EFL classrooms. Cogent Education. 5(1496627), pp. 1-16. doi:10.1080/2331186X.2018.1496627.

Willis, D., & Willis, J. (2007). Doing task-based learning. Oxford: Oxford University Press.

Downloads

Published

2022-12-30