การประเมินโครงการสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร

Main Article Content

นพพล วิบูลวงค์
ประจบ ขวัญมั่น

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินโครงการสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร 2) หาแนวทางพัฒนาโครงการสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณผสมผสานกับวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 15 คน ครูผู้สอน จำนวน 288 คน เป็นการเลือกแบบเจาะจง และกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 313 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่, และมอร์แกน และสุ่มแบบแบ่งชั้น โดยใช้โรงเรียนเป็นชั้น และผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม     มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า


            1) การประเมินของโครงการสถานศึกษาปลอดภัยโดยภาพรวมมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด  2) แนวทางพัฒนาการดำเนินการประเมินโครงการสถานศึกษาปลอดภัย มีดังนี้ (1) สถานศึกษาควรวางแผนการรับมือกับอุบัติเหตุล่วงหน้า และต้องมีการคาดการณ์ถึงสถานการณ์ที่อาจไม่ปลอดภัยในแต่ละฤดูกาล
(2) สถานศึกษาควรร่วมมือกับหน่วยงาน คณะบุคคล หรือบุคคลภายนอกเพื่อจัดหาปัจจัยนำเข้ามาใช้ในโครงการสถานศึกษาปลอดภัย (3) สถานศึกษาควรร่วมมือกับหน่วยงาน คณะบุคคล หรือบุคคลภายนอกเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการสถานศึกษาปลอดภัยอย่างรัดกุม และ (4) สถานศึกษาควรกำหนดให้มีการซ้อมหนีไฟ การซ้อมทำ CPR มีการจัดการเรียน  การสอนเพศวิถีศึกษา การสอนว่ายน้ำ และอื่น ๆ ในทำนองเดียวกัน ให้กับนักเรียนในทุกปีการศึกษา

Article Details

How to Cite
วิบูลวงค์ น., & ขวัญมั่น ป. . (2024). การประเมินโครงการสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร. วารสารครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 7(1), 304–317. https://doi.org/10.2774.EDU2024.1.264150
บท
บทความวิจัย

References

กนกอร อุ่นสถานนท์. (2563). การบริหารด้านความปลอดภัยของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19. นนทบุรี: คิว แอดเวอร์ไทซิ่ง.

กฤษฎา ศรีสุชาติ. (2559). การพัฒนาตัวบ่งชี้และคู่มือโรงเรียนปลอดภัยของสถานศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารจัดการการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ขนิษฐา ทาแฝง. (2564). แนวทางการบริหารจัดการศึกษาเพศวิถีศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลกเขต 3. ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ. (2562). มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2564, จากhttps://www.dla.go.th/upload/document/type2/2019/3/21360_2_ 551673939396.pdf.

ชิษณุชา ขุนจง. (2563). การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา. สาระศาสตร์. 5(2): 287 – 300.

เชาว์ อินใย. (2553). การประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฑัณฑิกา สวัสดิ์ภักดี. (2560). การประเมินโครงการสร้างเสริมความปลอดภัยในการเดินทางสำหรับนักเรียน: กรณีศึกษาโรงเรียนนำร่องในจังหวัดขอนแก่น เชียงใหม่ ชลบุรี และสงขลา. Rajabhat Rambhai Barni Research Journal. 11(2): 151–160.

ธาดา รัชกิจ. (2562). การศึกษา (Education) สำคัญอย่างไรกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2564, จาก https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190625-education-for-hrd/.

ปิยรัตน์ ป้องแสนสี. (2564). รายงานการประเมินโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลนครสวรรค์. สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edunsrujo/article/view/250560/170919.

พงศราญ ไกรดำ. (2565). การประเมินโครงการสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรียนภูเก็ตปัญญานุกูล สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2557). เทคนิคการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ: บริษัท เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มิสท์ จำกัด.

มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก. (2561). จัดระบบความปลอดภัยในโรงเรียน เรื่องใหญ่ที่ต้องจริงจัง. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://shorturl.at/pstxW.

เรวัตร แก้วทองมูล. (2563). การประเมินโครงการสถานศึกษาปลอดภัยของวิทยาลัยเทคนิคเวียงป่าเป้า. พิษณุโลก: สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4. (2564). แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมความปลอดภัยและมาตรการโรงเรียนปลอดภัย (Safety School) เพื่อนำไปสู่ Happy School. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2564, จาก https://www.cmi4.go.th/group/promotion/wp-content/uploads/2021/07/อนุญาตให้เผยแพร่เว็บกลุ่มส่งเสริม.pdf.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). คู่มือความปลอดภัยในสถานศึกษา. สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2564, จาก https://www.sesasingthong.go.th/?p=11570.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สุกัญญา พรน้อย. (2562). เรื่องการพัฒนาตัวบ่งชี้ความปลอดภัยในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต (วิจัย วัดผล และสถิติการศึกษา). มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุชีรา ใจหวัง. (2560). การศึกษาการจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์. (2564). การป้องกันอุบัติเหตุในเด็กและอุบัติเหตุที่พบบ่อยในเด็ก. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2564, จาก www.rama.mahidol.ac.th/ped/th/content/ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัย-และป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก.

เอกลักษณ์ พิมพ์รอด. (2564). แนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันนักเรียนจากภัยคุกคามของโรงเรียนในเขตพื้นที่บริการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 2. ปริญญานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

Deroche, E. F., & Kaiser, J. S. (1980). Complete guide to administering school services. New York: Parker.

Krejcie, Robert V., & Daryle, W. Morgan. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30(3): 607-608.

Likert, Rensis. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale”, Reading in Attitude Theory and Measurement. New York: Wiley & Son.

Stufflebeam, D. L., & Coryn, C. L. S. (2014). Evaluation: theory, models and applications. (2nd ed.). San Francisco: Jossey-Bass.