A Study of The Relationship Between Academic Administration and The Quality of Learners in Educational Institutions under The Office of The Secondary Educational Service Area Kamphaengphet
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were 1) to study the level of academic administration of schools 2) to study the quality level of learners of schools 3) to study the relationship between academic administration and learner quality of schools. The sample consisted of 32 school directors and 281 teachers totaling 313. The research tool was a rating scale questionnaire in academic administration with a reliability coefficient of 0.97 and questionnaire about the quality of learners in schools assessment form with a reliability coefficient of 0.95. The statistics used were mean, standard deviation, Pearson correlation coefficient. The research was as follows:
1) The level of academic administration of schools under the office of the secondary educational service area Kamphaengphet was at a high level. 2) The level of quality level of learners of schools under the office of the secondary educational service area Kamphaengphet was at a high level. And 3) The relationship between academic administration and the quality of learners in schools was at a high level with statistical significance at the level of .01
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). แนวทางการนำจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
จิติมา วรรณศรี. (2557). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการพิมพ์.
ณภิญรัตน์ ทัพขวา. (2557). การมีส่วนร่วมของโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ดิลกะ ลัมธพิพัฒน์. (2554). ทิศทางปฏิรูปการศึกษาไทยจากมุมมองธนาคารโลก. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน.
ภัคพร บุญเคล้า. (2555). ยุทธวิธีการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กโดยใช้ปัจจัยด้านการบริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ในเขตตรวจราชการที่ 13. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีนิพนธ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
รัตนกร พรมวังขวา. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
สงวนพงศ์ ชวนชม. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสมาคม สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 20(2), 59 - 68.
สัมมา รธนิธย์. (2560). หลัก ทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ส.เอเซียเพลส.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร. (2564). แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2565) ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2564. กำแพงเพชร: ผู้แต่ง.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). สภาวะการศึกษาไทยการปฏิรูปการศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
สุธินี แซ่ซิน. (2561). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับคุณภาพของผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยพะเยา.
สุรีรัตน์ ข้ามสาม. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของศูนย์การศึกษานอกระบบและกรศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
หนึ่งฤทัย หาธรรม. (2553). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
อังศณา มาศเมฆ. (2557). การบริหารงานวิชาการกับคุณภาพผู้เรียนในเทศบาลกลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยศิลปากร.