The Study on the Condition of Academic Administration of the Schools in Kaeowari Group, Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 2

Main Article Content

เมธินี โททอง

Abstract

The purpose of this research was to study the conditions of academic administration of the schools in Kaeowari Group. The participants were 85 school administrators of the schools in Kaeowari Group. The research instrument employed to collect the data in this research was the questionnaire concerning academic administration in nine aspects as follows: the school curriculum development, the learning process development, the teaching and learning activity arrangement, the assessment and evaluation, the research for educational quality development, the development of learning resources process, the educational supervision, the development of innovative technologies for education, the internal quality assurance system and educational standards development. The statistics used for analyzing the data were percentage, mean, and standard deviation. The results were as follows:


            The study results of the academic administration of the schools in Kaeowari Group in general found that the nine aspects of academic administration were rated at a high level and they were arranged in order of the highest level to the lowest as the learning process development, the assessment and evaluation, the teaching and learning activity arrangement, the development of innovative technologies for education, the internal quality assurance system and educational standards development, the educational supervision, the school curriculum development, the development of learning resources process, and the research for educational quality development, respectively.

Article Details

How to Cite
โททอง เ. . (2022). The Study on the Condition of Academic Administration of the Schools in Kaeowari Group, Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 2. Education Journal Faculty of Education, Nakhon Sawan Rajabhat University, 3(2), 68–81. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edunsrujo/article/view/254298
Section
Research Articles

References

กมล ภู่ประเสริฐ. (2547). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: เมธีทิปส์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

_______. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

_______. (2546). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

_______. (2550). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (รสพ.).

_______. (2552). คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

ช่อรัตร์ดา เกสทอง. (2551). การนำเสนอแนวทางการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุทัยธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ณัฐพร อ่องเพ็ง. (2558). แนวทางการบริหารงานวิชาการโรงเรียนในอำเภอบึงนาราง สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

เทอดศักดิ์ จันทิมา. (2560). แนวทางการบริหารงานวิชาการโดยการใช้เครือข่ายของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ปรารถนา แก้วเวียง. (2559). แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนเอกชน อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

ไพรวัลย์ เกิดสวัสดิ์. (2558). แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขต ทุ่งหินเทินสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ภัทราภรณ์ แจ่มบุรี. (2559). แนวทางการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

มณีรัตน์ ปานจันทร์. (2553). ผลของนโยบายการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่มีต่อการรับรู้และ พฤติกรรมของผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน: การวิจัยแบบผสม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2552). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). สงขลา: คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณ.

วรรณกร เรือกิจ. (2559). แนวทางการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ศิริพร สระทองหน. (2558). แนวทางการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็กตาม ความคิดเห็นของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.

สมยศ คงสิน. (2558). การศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในจังหวัดพิจิตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

สันติ บุญภิรมย์. (2552). การบริหารงานวิชาการ. นนทบุรี: ไทยร่มเกล้า.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2. (2560). ข้อมูลสารสนเทศ ปี 2560. นครสวรรค์: ผู้แต่ง.

_______. (2561). ข้อมูลสารสนเทศ ปี 2561. นครสวรรค์: ผู้แต่ง.

_______. (2561). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. นครสวรรค์: ผู้แต่ง.

อภิเชษฐ์ บุญพะยอม. (2560). แนวทางการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

อรอุมา อนันต์. (2556). การศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการ กลุ่มโรงเรียนคลองลานพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.