ผลการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Main Article Content
บทคัดย่อ
The purposes of this research were to 1) To compare the learning achievement in social studies subject of Mathayomsuksa 3 students before and after learning management by using creativity-based learning 2) To compare the creative thinking of Mathayomsuksa 3 students learning management by using creativity-based learning. The sample group consisted of 31 Mathayomsuksa 3/7 students, which were obtained from simple random sampling. The tools used in this research consisted of 1) the course management plan for social studies subject 2)learning achievement test regarding australia and oceania in Mathayomsuksa 3 students, 20 items and 3) assessment form creative thinking.Data analysis were percentage, mean, standard deviation and t-test. The results were as follows: 1) Mathayomsuksa 3 students receiving Creativity-based learning had a learning achievement in social studies subject was significantly higher than that before using them at .05 level. 2) Mathayomsuksa 3 students receiving Creativity-based learning had a creative thinking higher than that before using them at .05 level
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ไพลิน แก้วดก. (2561).การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน: การวิจัยผสานวิธี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต(วิจัยและประเมินผลการศึกษา).มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
มงคล เรียงณรงค์, และลัดดา ศิลาน้อย. (2558).การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (CBL) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชา ส21103 สังคมศึกษา 2.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 38(4), 141-148.
วิพรพรรณ ศรีสุวรรณ.(2562).การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การศึกษา).มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
วิริยะฤาชัยพาณิชย์.(2558).การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐานCreativity-based Learning (CBL).วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้,1(2), 23-37.
สุวิมลติรกานันท์.(2551).การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์:แนวทางสู่การปฏิบัติ.(พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อติพร เกิดเรือง.(2559).การส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่21เพื่อรองรับสังคมไทยในยุคดิจิทัล.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง(Lampang Rajabhat University Journal), 6(1), 173-184.
Torrance, Palue E.(1965). Rewarding Creative Behavior. Engle Wood Cliffs: New Jersey Prentice-Hall.