ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและปัจจัยดึงดูดผู้บริโภคที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคที่เข้ามาใช้บริการร้านค้าปลีกสมัยใหม่ขนาดเล็กในจังหวัดสกลนคร

Main Article Content

ธรรม์ วะสีนนท์

Abstract

The objectives of this research were to study the personal factors that affected the behavioral services of modern retailing shops in Sakonnakhon Province, study the factors of marketing mix and consumer’s attractive factors that affected their behaviors on services of modern retailing stores in Sakonnakhon Province. There were 400 samples. The statistics used were percentage, frequency, mean and standard deviation, t-test, F-test and multiple regression analysis.


The results of the study were as follows:
Most samples were females at the ages of 18-28 years; their educational attainments were secondary, vocational levels and students and their incomes were not more than 10,000 baht per month. Their overall and each item of opinions were at high level of marketing mix factors of all product, price, place, marketing promotion, service process, physical, and employee aspects, and the opinions of consumer’s attractive factors on attention, interest, desire, and action aspects. When compared to the overall consumers, the comparisons of the opinion of the consumers’ behavior as a whole stated that the personal factors classified by sex, age, education attainment and income per month showed no difference, but when classified by occupation, it showed a difference at Besides, the analysis on the marketing mix and consumer’s attractive factors that affected behavior of consumers on services of modern small retailing stores, it was found that the factors of place, service process, interest and desire aspects positively affected the overall behaviors of consumers at p<0.01 level of significance.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กรรณิการ์ เนาวแสงศรี. (2558). กลยุทธ์การขายที่เน้นทางด้านพนักงานขายของทฤษฎีการขายไอดาสที่ส่งผลต่อ ผู้บริโภคที่ตัดสินใจซื้อ ทาวน์เฮ้าส์ 2 ชั้น ของโครงการหมู่บ้านวราพร ตำบลบ้านบ่อ ในจังหวัดสมุทรสาคร. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
กระทรวงพาณิชย์. (2558). หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ปีที่ 28 ฉบับที่ 9864 วันที่ 25 กันยายน 2558 หน้า 7
รายงานประจำปี 2560 บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด มหาชน. (2560). สืบค้น online จาก https://www.cpall.co.th/images/CPALL-AR2017_Th_HiRes.pdf
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศกระทรวงพาณิชย์. (2558). รอบรู้เศรษฐกิจ ตามติดตลาดโลก. แหล่งที่มา : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ปีที่ 28 ฉบับที่ 9864 วันที่ 25 กันยายน 2558 หน้า 7. เข้าถึงได้จาก https://www.ditp.go.th /contents_attach/135574/135574.pdf. 28 กันยายน 2558.
ฐิตาภา พรหมสวาสดิ์. (2555). ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เสริม อาหารบำรุงสมอง และความจำของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. บริหารธุรกิจบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ณัฐพล เสตกรณุกูล. (2554). พฤติกรรมและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในร้านค้าปลีก กรณีศึกษา ร้านสุขเจริญผล. เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นภัทร ไตรเจตน์. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม (ร้านโชห่วย) กรณีศึกษาในตลาดไทปทุมธานี. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2559).
สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2. (2551).
สมาคมค้าปลีกประเทศไทย. (2561). เข้าถึงได้จาก https://www.thairetailer.com
อนุศาสตร์ สระทองเวียน. (2553). ธุรกิจค้าปลีก ประเทศไทย Retail Business in Thailand. เข้าถึงได้จาก https://www.thaiblogonline.com/sodpichai. blog?PostID=20383.
อัญธิกา แก้วศิริ. (2560). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้บริการร้านอาหาร บุฟเฟต์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. บัณฑิตวิทยาลัย. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่