การจัดการสมรรถนะด้านดิจิทัลของทรัพยากรมนุษย์ กับการออกแบบรูปแบบการทำงานเป็นทีมที่มีความคล่องตัวสูง: ความท้าทายขององค์กรในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
การจัดการสมรรถนะด้านดิจิทัล, ทรัพยากรมนุษย์, ทีมที่มีความคล่องตัวสูง, องค์กรในยุคดิจิทัลบทคัดย่อ
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ได้เข้ามาสู่ช่วงที่สี่ที่เรียกว่า HR 4.0 หรือ
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัล ซึ่งผลความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจัลที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและเกิดขึ้นแบบก้าวกระโดด ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องหันมาออกแบบรูปแบบการดำเนินงานแบบใหม่ที่อยู่บนพื้นฐานของความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล โลกไซเบอร์ได้ก้าวเข้ามาท้าทายต่อโลกของรูปแบบการทำงานจริงทางกายภาพที่เป็นรูปแบบการทำงานแบบเดิม การพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลให้แก่ทรัพยากรมนุษย์ขององค์กรในยุคดิจิทัล จึงกลายเป็นเรื่องที่มีความสำคัญสูงต่อทุกองค์กร ทั้งนี้เพื่อให้ทรัพยากรมนุษย์มีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะทางดิจิทัลที่รองรับและสนับสนุนต่อการทำงานในรูปแบบใหม่ขององค์กรในยุคดิจิทัล ซึ่งต้องอาศัยรูปแบบการทำงานแบบทีมที่มีความคล่องตัวสูง ที่มีการทำงานข้ามหน่วยงาน ในการสร้างนวัตกรรมทางดิจิทัลให้เกิดขึ้นแก่องค์กร บทความนี้ มุ่งนำเสนอให้เห็นว่า ระบบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่จะต้องมาสนับสนุนต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์กรในยุคดิจิทัลอย่างเต็มที่กลยุทธ์ของการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลที่จะต้องมีความชัดเจน กรอบแนวคิดของการจัดการสมรรถนะด้านดิจิทัลจะต้องถูกมองอย่างเป็นระบบ รวมถึงการสร้างสมรรถนะใหม่เพื่อรองรับกับรูปแบบการทำงานแบบทีมงานที่มีความคล่องตัวสูง
References
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2561). ทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล.
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2561-2580. (2562, 11 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 47 ก
Amoros, Jose Luis. (2022). Designing Agile Teams for Software Development. www.krasamo.com/agile-teams/
Atkinson, Simon Reay and Moffat, James. (2006). The Agile Organization from Informal Networks to Complex Effects and Agility. CCRP Publication.
Azeem, Malik.(2016). HR 2.0: linking Web 2.0 and HRM functions. Journal of Organizational Change Management, 29(5), 686-712.
Halid, Hafinas, Yusoff, Yusmani Mohd, & Somu, Hemalatha. (2020). The Relationship Between Digital Human Resource Management and Organizational Performance. Atlantis Press.
Horrigan, Mia (2020). “Setting up a New Agile Team” www.zenexmachina.Com
Larso, Wade M. (2021). What is HR 3.0?. www.linkedin.com/pulse/what-hr-30-dr-wade-m-larson
Manuti, Amelia & Palma, Pasquale Davide de. (2018). Digital HR: A Critical Management Approach to the Digitalization of Organizations. Springer Nature.
Mazurchenko, Anastasiia & Maršíková, Katerina (2019). Digitally-Powered Human Resource Management: Skills and Roles in the Digital Era. Acta Informatica Pragensia, 8(2), 72-87.
McClelland, David C. (1973). “Testing for Competence rather than Intelligence.” American Psychologist. https://www.ei. Haygroup.com
____. (1999). “Identifying Competencies with Behavioral-event interviews”. Psychological Science, 9(5). https://www.eiconsortium. org/research/business_case_for_ei.htm
Mondal, Subhra R, Virgilio, Francesca Di, & Das, Subhankar. (2022). HR Analytics and Digital HR Practices: Digitalization Post COVID-19. Springer Nature Singapore Pte Ltd.
Moreira, Mario E. (2017). The Agile Enterprise: Building and Running Agile Organizations. Apress.
Pham, Thanh. (2020). Agile Vs. Waterfall in Software Development. https://www.saigontechnology.com
Sasse, Miriam, & Pfeffer, Joachim. (2020). OpenSpace Agility compact: Becoming an Agile Organization through Freedom and Tranparency. BoD.
Sen, Soumyasanto. (2020). Digital HR Strategy: Achieving Sustainable Transformation in the Digital Age. Kogan Page.
Strohmeier, Stefan. (2020). Digital Human Resource Management: A Conceptual Clarification. German Journal of Human Resource Management, 34(3), 345-365.
Titov, Max. (2020). The SPOTIFY Agile Model Explained: Principles & Takeaways. https://www.altigee.com
Vardarlier, P. (2020). Digital Transformation of Human Resource Management: Digital Applications and Strategic Tools in HRM,
Hacioglu, U. (Eds.). Digital Business Strategies in Blockchain Ecosystems. Contributions to Management Science. Springer.
Wilson, Jim. (2020). Human Resources Ripe for Reinvention with ‘HR 3.0’. https://www.hrreporter.com/focus-areas/automation-ai/human-resources-ripe-for-reinvention-with-hr-30/334400
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 คณะนิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ความคิดเห็นในบทความและงานเขียน ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้ประพันธ์โดยอิสระ กองบรรณาธิการ วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป หากท่านประสงค์จะนำบทความหรืองานเขียนเล่มนี้ไปตีพิมพ์เผยแพร่ จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ประพันธ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์