ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กับประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
คำสำคัญ:
ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ, ประสิทธิภาพการทำงาน , เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2) ประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกับประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จำนวน 177 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จำนวน 123 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูป Krejcie and Morgan และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นต่อทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระดับความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (3) ทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกับประสิทธิภาพการทำงานของเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือโดยภาพรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลาง (r=.570) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). หลักสถิติ (พิมพ์ครั้งที่ 14). สามลดา.
จุฑารัตน์ จตุกูล. (2564). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัตมย์ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. [วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์].
ทัศนีย์ มนูเจริญ. (2558). บรรยากาศองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยบูรพา. [งานนิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยบูรพา]. http://digital_collect. lib.buu.ac.th/ dcms/files/57930141.pdf
ทวีศักดิ์ นาคม่วง. (2547). ระบบสนันบสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems). http://www.sirilitdam.egat.com/WEB_MIS/107/ index.html.
นฤมล เตียวไพบูลย์ และกัลยกิตติ์ กีรติอังกูร. (2565). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ กรณีศึกษาจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 19(1), 124-137
นิศารัตน์ เชาว์ปรีชา. (2556). การพัฒนาการบริหารระบบสารสนเทศของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1. [วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย].
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น ฉบับปรับปรุงใหม่. สุวีริยาสาส์น.
ปาหนัน ทรัพย์ธำรง. (2559). ปัจจัยภายในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.[วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครเหนือ].
ไพบูลย์ เกียรติโกมล และณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. ซีเอ็ดยูเคชั่น.
รพิรัตน์ ลือชานิติโพธ. (2557). ผลกระทบของทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อคุณภาพการปฏิบัติงานบัญชีของผู้ทำบัญชีในเขตภาคตะวันออก. [วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม].
วศิน เพิ่มทรัพย์ และ วิโรจน์ ชัยมูล. (2548). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. โปรวิชั่น.
สมใจ ลักษณะ. (2552). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. เพิ่มทรัพย์การพิมพ์.
สิริอร วิชชาวุธ. (2554). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การเบื้องต้น. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุพล พรหมมาพันธุ์. (2554). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการธุรกิจ. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
Abubakar, L. (2021). Relationships among ICT Training, Skills Acquisition, Use and Job Performance of Library Personnel in Universities in North-West Nigeria. Library Philosophy and Practice [e-journal], 1-23.
Arfan, H. H. (2021). Motivation and Work Environment on Employee Performance. Journal of Indonesian Scholars for Social Research, 1(1), 15-19.
Fatmah, D. (2020). Mastery of Information Technology and Organizational Learning Culture Impact on Job Performance in Education Institute Sabilillah East java. Jurnal Ilmiah Ilmu Manajemen, 10(1), 1-12.
Fogaça, N., Rego, M. C. B., Melo, M. C. C., Armond, L. P., & Coelho Jr, F. A. (2018). Job Performance Analysis: Scientific Studies in the Main Journals of Management and Psychology from 2006 to 2015. Performance Improvement Quarterly, 30(4), 231-247.
Motowidlo, S. J., & Kell, H. J. (2012). Job Performance. Handbook of Psychology (2nd ed).
Nguyen, P. T., Yandi, A., & Mahaputra, M. R. (2020). Factors that Influence Employee Performance: Motivation, Leadership, Environment, Culture Organization, Work Achievement, Competence and Compensation (A study of Human Resource Management Literature Studies). Dinasti International Journal of Digital Business Management, 1(4), 645-662.
Okpokwasili, N. P. (2018). Information Systems Application Skills Required of Secretaries for Job Performance in E-World Parastatals in Rivers State. International Journal of Innovative Information Systems & Technology Research, 6(3), 16-24.
Oyedipe, W. J., & Popoola, S. O. (2019). Influence of Age, Job Status, ICT Literacy Skills and ICT Use on Task Performance of Library Personnel in Public Universities. International Journal of Knowledge Content Development & Technology, 9(3), 43-61.
Pearson, L. C. & Hall, B. W. (1993). Initial Construct Validation of the Teaching Autonomy Scale. Journal of Educational Research, 86(3), 172-177.
Pitoyo, D. (2019, October). The Application of Information Technology, Knowledge and Skill and the Impacts to Employee Performance. In 2019 IEEE 13th International Conference on Telecommunication Systems, Services, and Applications (TSSA) (82-88). IEEE.
Pringgabayu, D., Hutahean, E., & de Keizer, H. (2021). How Motivation, Competency and Working Environment Affect Employee Performance in Indonesian Private University. Journal of Economics, Finance and Management Studies, 4(1), 1706-1710.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 คณะนิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
ความคิดเห็นในบทความและงานเขียน ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้ประพันธ์โดยอิสระ กองบรรณาธิการ วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป หากท่านประสงค์จะนำบทความหรืองานเขียนเล่มนี้ไปตีพิมพ์เผยแพร่ จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ประพันธ์ตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์