ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านตามาเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน

ผู้แต่ง

  • Utitt Tahom อุทิศ ทาหอม สาขาวิชาการพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
  • Pichit Wandee พิชิต วันดี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์
  • Samran Dhurata สำราญ ธุระตา สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์

DOI:

https://doi.org/10.14456/jem.2015.10

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องรูปแบบการสร้างอัตลักษณ์ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านตามาเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนมีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัญหาของการสร้างทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชุมชนบ้านตามา 2. เพื่อศึกษาชุดประสบการณ์ความรู้ในการนำทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน 3. เพื่อค้นหารูปแบบการสร้างอัตลักษณ์ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านตามาเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน  ผู้ศึกษาใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบการเลือกอาสาสมัคร (Volunteer Sampling) เก็บข้อมูลผู้เข้ามาเป็นอาสาสมัครนักวิจัยชุมชน โดยมีตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน ผู้อาวุโส ประชาชนบ้านตามา และนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ รวมทั้งสิ้น 154 คน

References

Bourdieu, P. (1986). The Forms of Capital. In J. G. Richardson (Ed.), Handbook of Theory and Research for the Sociology of Capital (pp. 241 – 258). New York: Greenwood Press.

Griswold, W. (2004). Cultures and Societies in a Changing World. Thousand Oaks: Pine Forge Press.

Keawtep, K. & Hinwiman, S. (2008). Theoreticians in Political Economy and Communication Studies [In Thai: สายธารแห่งนักคิดทฤษฎี เศรษฐศาสตร์การเมืองและสื่อสารศึกษา]. Bangkok: Bhappim Press.

Law Reform Commission. (2011). Thailand Reorganization Proposal for Political Parties and Legal Voter [In Thai: แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย ข้อเสนอต่อพรรคการเมืองและผู้มีสิทธิเลือกตั้ง]. Nonthaburi: Office of Law Reform Commission of Thailand.

Temawathn, S. (2005). Identity and representation of community forest management:A comparative study of two ethnic communities [In Thai: อัตลักษณ์และการนำเสนอภาพตัวแทนของการจัดการป่าชุมชนกรณีศึกษาเปรียบเทียบสองชุมชนต่างชาติพันธุ์]. Master’s Thesis, Geography Program, Graduate School, Chiang Mai University.

Wanthanang, K. (2010). Social capital and knowledge management for self-sufficiency [In Thai: ทุนทางสังคมกับการจัดการความรู้สู่ชุมชนพึ่งตนเอง]. Doctoral Dissertation, Public Administration, National Institute of Development Administration.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-08-15

How to Cite

อุทิศ ทาหอม U. T., พิชิต วันดี P. W., & สำราญ ธุระตา S. D. (2015). ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านตามาเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน, 11(2), 44–59. https://doi.org/10.14456/jem.2015.10

ฉบับ

บท

บทความวิจัย Research