วิถีเกษตรแบบมีส่วนร่วม: ชุมชนบ้านไร่-เขาดิน อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี

Main Article Content

วริพัสย์ เจียมปัญญารัช

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาชุมชนโดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (participatory action research: PAR) ในการวางแผนจัดการวัสดุเหลือใช้จากกิจกรรมการเกษตรให้ถูกวิธีของชุมชนบ้านไร่-เขาดิน อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี วิเคราะห์มูลค่าทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยกระบวนการ PAR  โดยใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มเจาะจง เกษตรกรจำนวน 24 ราย ของชุมชนโดยใช้เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการ PAR ทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.64-17.67 และลดรายจ่ายครัวเรือนร้อยละ 6-10 และลดรายจ่ายในการทำนาร้อยละ 20-30 ต่อรอบการผลิตและค่าฝุ่น PM 2.5 ลดลงร้อยละ 50 หลังจากชุมชนเข้าสู่กระบวนการ PAR ในการเปลี่ยนวัสดุเหลือใช้จากกิจกรรมทางการเกษตรโดยเผาในเตาเผามาตรฐาน และสังเคราะห์เนื้อหาตามประเด็น โดยใช้ SWOT analysis พบว่าเกษตรกรมีจุดแข็งคือชุมชน จุดอ่อน คือ แหล่งเงินทุน โอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ส่งผลต่อในการผลิตข้าวปลอดภัยของชุมชนกลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์ชีวภาพบ้านไร่-เขาดิน อุปสรรคได้แก่การเข้าถึงตลาดแต่มีชุมชนมีความพึงพอใจของกระบวนการ PAR โดยวิธีการ Likert scale พบว่าเกษตรกรมากกว่าครึ่งของกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจระดับมาก แสดงให้เห็นว่าเกษตรกรมีความพึงพอใจที่ได้ต่อการเข้าร่วมกระบวนการและส่งผลให้การพัฒนาของชุมชน

Article Details

How to Cite
[1]
เจียมปัญญารัช ว. 2022. วิถีเกษตรแบบมีส่วนร่วม: ชุมชนบ้านไร่-เขาดิน อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 10, 2 (พ.ค. 2022), 159–168.
บท
บทความวิจัย

References

Borirak, T. 2019. The crisis lessons from PM 2.5 air pollution. EAU Heritage Journal Science and Technology 13(3). 44-58. (in Thai)

Foundation for Agricultural and Environmental Conservation (Thailand). 2020. Rice production. (Online). Available: http://www.aecth.org

/upload/13823/Yg2qaxoQyg.pdf

(August 3,20200). (in Thai)

Greenwood, D.J. and M. Levin. 2003. Reconstructing the relationships between universities and society through action research. PP. 131-166. In: N.K. Denzin and Y.S. Lincoln (eds.) The Landscape of Qualitative Research: Theories and Issues. Sage Thousand Oaks.

Kemmis, S. and R. Mc Taggart. 2005. Participatory action research: Communicative action and the public PP. 559-604. sphere. In: N.K. Denzin and Y.S. Lincoln (eds.) Handbook of Qualitative Research. 3rd rd. Sage, Thousand Oaks.

Knook, V.J., E. M. Brander and D. Moran. 2020. The evaluation of a participatory extension programme focused on climate friendly farming. Journal of Rural Studies 76: 40-48.

Office of the National Economics and Social Development Council. 2018. National Strategy 2018-2037. (Online). Available: http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/2019/10/National-Strategy-Eng-Final-25-OCT-2019.pdf (November, 2019). (in Thai)

Prapatigul, P., W. Intaruccomporn and S. Sreshthaputra. 2021. The Seeking of Roughage Sources from Agricultural Wastes in Community for Beef Cattle Raising: A Case Study of Beef Cattle Raising Group at Pua District, Nan Province. Journal of Community Development and Life Quality. 9(2): 278-288. (in Thai)

Saraburi Provincial Government. 2018. Saraburi Provincial Development Plan: 2018-2021. 2018. (Online) Available: http://www.saraburi.go.th/web2/files/com_strategy/2017-12_9c975b039c08603.pdf (August, 2020). (in Thai)

Supapunt, P.R. Kongtanajaruanun, J. Bunmark, T. Awirothananon and P. Intanoo. 2017. Optimal marketing strategies for distribution channels of organic agricultural products in Chiang Mai province. Parichart Journal, Thaksin University. 30(3): 35-44. (in Thai)

Thai Industrial Standards Institute. 2018. Charcoal. (Online). Available: http://tcps.tisi.go.th/pub/tcps657_47.pdf (December 20, 2019). (in Thai)

Than, P. and K. Suluksna. 2019. Experimental on influent parameters on wood vinegar burning process. IOP Conf. Series: Materials Science and Engineering 501: 012066, doi: 10.1088/1757-899X/501/1/012066.