ความคิดเห็นของผู้ประกอบการร้านอาหารที่มีต่อสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม แนวทางการป้องกันและการปรับตัว และศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อมาตรการการช่วยเหลือของรัฐบาลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ ซึ่งเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ประกอบการร้านอาหารที่มีการจดทะเบียนจัดตั้งสถานที่จำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จำนวน 250 คน ผลการวิจัยพบว่า ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผู้ประกอบการร้านอาหารส่วนใหญ่มีรายได้ไม่เพียงพอ มีภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น มีปัญหาในเรื่องค่าเช่าที่ ค่าวัตถุดิบในการประกอบอาหารมีราคาสูงขึ้น และลูกค้ามาใช้บริการลดน้อยลง
ซึ่งผู้ประกอบการร้านอาหารมีการปรับตัวในเรื่องการขายสินค้าเพิ่มเติม หรือการมีบริการสั่งซื้ออาหารทางโทรศัพท์หรือออนไลน์ และมีการปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันของรัฐบาลอย่างเคร่งครัด ซึ่งเมื่อสอบถามความคิดเห็นของผู้ประกอบการร้านอาหารเกี่ยวกับมาตรการการช่วยเหลือของรัฐบาล พบว่า มีความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจและแก้ไขบทความที่เสนอเพื่อตีพิมพ์ในวารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะคณะผู้จัดทำไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยและคณะผู้จัดทำ / บรรณาธิการ
References
Bank of Thailand. 2020. The new normal of restaurant business in COVID-19. BOT Magazine 43(3): 54-55. (in Thai)
Best, J. W. 1977. Research in Education. 3rd ed. Prentice-Hall, Englewood Cliffs, New Jersey.
Chiang Mai Province Official. 2020. Briefing of Chiang Mai Province. (Online). Available: http://www.chiangmai.go.th/managing/public/D8/8D12Nov2020103220.pdf (September 22, 2021). (in Thai)
Chobpradit, S. 2020. Covid 19 crisis affect social change. Journal of Chaiyaphum Review 3(2): 1-13. (in Thai)
Deeod, P. 2020. The impact spread of the Coronavirus 2019 (COVID - 19) on occupation of a food delivery service. Journal of MCU Nakhondhat 7(6): 131-144. (in Thai)
Department of Mental Health. 2020. Mental health articles “New normal”. (Online). Available: https://www.dmh.go.th
/news/view.asp?id=2288 (June 18, 2021). (in Thai)
E-sor, A., N. Namburi, S. Pumkeaw, O. Kamol, S. Kraonual and R. Chedoloh. 2021. The development of food businesses in Betong district Yala province on new normal. Journal of Accountancy and Management 13(1): 16-29. (in Thai)
Nunnally, J.C. 1978. Psychometric Theory. 2nd ed. McGraw-Hill, New York.
Paksa, P. 2021. Knowing self in a crisis situation: Covid-19. Suratthani Rajabhat Journal 8(1): 55-79. (in Thai)
Panuch, S. and C. Kee-ariyo. 2021. The new normal patterns of consumers’ food purchasing in Bangkok after the Coronavirus (COVID-19) epidemic situation. Journal of Graduate Studies and Social Sciences Uttaradit Rajabhat University 11(1): 87-98. (in Thai)
Ruangkam, K., Y. Masorree and K. Kanchanakhuha. (2021). The marketing mix factors in adaptation strategy under the circumstances of Covid-19 for restaurant business “Ribs mannn” In Pak Chong district, Nakhon Ratchasima province. Journal of Liberal Arts and Service Industry 4(2): 748-760. (in Thai)
Thongpak, S. and S. Pooipakdee. 2021. Guideline for service modification and development of green restaurant “YamYen in Bangkok” during the Covid-19 pandemic. Journal of Liberal Arts and Service Industry 4(2): 761-772. (in Thai)
Udomthanasansakul, P. (2021). The influences of government policies and crisis management on business operation of small and medium enterprises in service sector in Chiang Mai province during the crisis of the COVID-19 epidemic. Journal of Accountancy and Management 13(2): 75-92. (in Thai)
Yamane, T. 1973. Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. Harper and Row, New York.