รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบนฐานภูมิปัญญา ลุ่มน้ำคลองเทพา จังหวัดสงขลา

Main Article Content

พรเพ็ญ ประกอบกิจ

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้เสนอรูปแบบและเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบนฐานภูมิปัญญา พื้นที่ลุ่มน้ำคลองเทพาจังหวัดสงขลาผู้วิจัยได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และจากการเก็บข้อมูลภาคสนาม การจัดเวทีถอดบทเรียนร่วมกับชาวบ้านเพื่อการระบุแหล่งท่องเที่ยวฐานภูมิปัญญาของแต่ละพื้นที่  การศึกษาดูงาน การฝึกอบรมและประชุมเชิงปฏิบัติการในการปฏิบัติการการเป็นเจ้าบ้านที่ดี การออกแบบทดลองโปรแกรมการท่องเที่ยว การประเมินเส้นทางการท่องเที่ยวโดยนักท่องเที่ยวนอกพื้นที่ ผลการศึกษาพบว่า ทั้ง 4 ชุมชนได้แก่ ชุมชนบ้านบาโหย ชุมชนบ้านพรุหมาก ชุมชนบ้านนาเกาะ และชุมชนปากน้ำพระพุทธ ได้ร่วมกันกำหนดรูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชนเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตชนบท (Rural Tourism) เป็นการเดินทางท่องเที่ยวที่มีเส้นทางการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงหมู่บ้านทั้ง 4 หมู่บ้านในพื้นที่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำของลุ่มน้ำคลองเทพา ที่มีลักษณะวิถีของการดำเนินชีวิตและการผลิตผลงานสร้างสรรค์ที่มี อัตลักษณ์ มีความโดดเด่นจากผลงานสร้างสรรค์และภูมิปัญญาพื้นบ้านมาเป็นรูปแบบการท่องเที่ยว 2 โปรแกรม

Article Details

How to Cite
[1]
ประกอบกิจ พ. 2020. รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบนฐานภูมิปัญญา ลุ่มน้ำคลองเทพา จังหวัดสงขลา. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 9, 1 (ก.ย. 2020), 87–96.
บท
บทความวิจัย

References

Aneksuk, B. And W. Panyavuttrakul.2016. The development of tourism type and tourism product in Phitsanulok province for carrying Thai and ASEAN tourists. Journal of Social Sciences, Naresuan University 12(2): 217-243. (in Thai)

Buddaduang, A. and S. Chaiamporn. 2012. The ability to apply social capital of Ban Bang Prai community, Bang Khonti district, Samutsongkram province. Journal of Association of Researchers 17(1): 29-41. (in Thai)

Champawan, S. and T. Promburom. 2015. Guidelines for capacity development and community based cultural tourism management in Tambon Ban Ruean Pasang district, Lamphun province. Journal of Community Development and Life Quality 3(1): 5-16. (in Thai)

Divonahotel Company Limited. 2015. Thai hotel situation analysis. (Online). Available: http://Divonahotel .com/author/admin. (in Thai)

Juangtong, S. and V. Wunkaew. 2015. Knowledge exploration and development local wisdom for cultural tourism promotion: A case study on Klong–Hae Community, Hatyai district, Songkhla province. Research Songkhla Rajabhat University, Songkhla. (in Thai)

Mahasinpaisan, T. 2013. Development of integrated communication plan to promote community-based tourism in Hin Tang community, Muang district, Nakhon Nayok province. Journal of Community Development and Life Quality 1(2):31-40.

Pengnorapat, U. 2017. The strategies for the development of the cultural tourism potentiality in Sisaket province. Journal of Thai Hospitality and Tourism 12(2): 28-43. (in Thai).

Phuwanatwichit, T. 2016. Cultural capital development and tourism attraction management for culture village Wiang Tha Kan, San Pa Tong district, Chiang Mai province. Journal of Community Development and Life Quality 5(1): 14-23. (in Thai)

Puttamasuwan, P. 2016. Development of a community Participatory Model for Chaiyaphom Ecotourism Management: A case study of Mor Hin Khao. Journal of Community Development and Life Quality 4(2): 235-248. (in Thai)

Sanglimsuwan, K. and S. Sanglimsuwan. 2012. Sustainable cultural heritage tourism. Executive Journal 32(4): 139-146. (in Thai)