“ผี–พราหมณ์–พุทธ” สักขีพยานการแช่งชักในสมัยสุโขทัย: กรณีศึกษาจารึกปู่ขุนจิดขุนจอด

Main Article Content

ปารมิตา นิสสะ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อเรื่อง ศาสนาผี ศาสนาพราหมณ์ และศาสนาพุทธในสมัยสุโขทัย โดยศึกษาจากจารึกปู่ขุนจิดขุนจอด ผลการศึกษาพบว่า สมัยสุโขทัยมีการนับถือศาสนาผี โดยแบ่งเป็นผีบรรพบุรุษ และผีภูมิสถาน การนับถือศาสนาพราหมณ์ แบ่งเป็นกลุ่มเทพเจ้า เทพเจ้าชั้นรอง สัตว์เทพหรืออมนุษย์ อวตารแห่งเทพเจ้า ตัวละครเชื้อสายเทพในวรรณคดีสันสกฤต และการพบธรรมขั้นสูงสุด และการนับถือศาสนาพุทธ ได้แก่ การตกนรก ภูมิสถานในพุทธศาสนา สวรรค์ในพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัย และการพบธรรมขั้นสูงสุด ซึ่งเป็นลักษณะที่แสดงให้เห็นถึง การยึดโยงซึ่งกันและกันของทั้ง 3 ศาสนา ที่มีอิทธิพลต่อคนในสังคมสุโขทัย ทั้งยังแสดงให้เห็นถึงความยืดหยุ่นและการเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมของรัฐสุโขทัย ซึ่งลักษณะดังกล่าวยังคงดำรงอยู่ในสังคมไทยจนถึงปัจจุบัน

Article Details

How to Cite
[1]
นิสสะ ป. 2020. “ผี–พราหมณ์–พุทธ” สักขีพยานการแช่งชักในสมัยสุโขทัย: กรณีศึกษาจารึกปู่ขุนจิดขุนจอด. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 8, 2 (ก.ย. 2020), 438–451.
บท
บทความวิจัย

References

Diskul, S. 1990. Hindu Gods at Sukhodaya. White Lotus Co., Ltd., Bangkok. 150 p.
Fine Arts Department. 2005. Prachom Jaruk Pak 8 Jaruk Sukhothai. Fine Arts Department, Bangkok. 632 p. (in Thai)
Krabuansang, S. 1975. History of Sukhodaya from the inscription. M.A. Thesis Silpakorn University, Bangkok. 133 p. (in Thai)
Nadon, C. 2017. Phokhunramkhamhaeng inherited blood from “Luang”. (Online).Available: https://siamrath.co.th/n/11295 (April 1, 2019). (in Thai)
Rueangruglikit, C. 2010. “Ongkarnchangnam” Analysis and Translation. Thanapress Ltd., Bangkok. 318 p.(in Thai)
Sompongjaroen, W. 2007. Traditional Thai beliefs and the religious syncretism during Sukhothai Period, A.D. 1219 – 1463. M.A. Thesis Silpakorn University, Bangkok. 172 p. (in Thai)
Sophonwatthanawijitr, K. 2011. Sukhothai History. Sarakhadee Ltd., Bangkok. 163 p. (in Thai)
Wongthas, S. 2005. Where did Sukhothai come from?. Matichon Publishing, Bangkok. 191 p. (in Thai)