การพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มเกษตรกรด้วยนวัตกรรมด้านเกษตรอินทรีย์ ในตำบลวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง

Main Article Content

ฐิฏิกานต์ สุริยะสาร
พรชนก ทองลาด
เบญจวรรณ เลาลลิต

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์คือ 1) ศึกษาการพัฒนาแนวทางการสร้างนวัตกรรมเพื่อการเกษตรอินทรีย์ 2) แนวทางการขยายผลเกษตรอินทรีย์สู่การใช้ประโยชน์ในพื้นที่อื่น และ 3) การสังเคราะห์องค์ความรู้จากผลการดำเนิน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักวิชาการพัฒนาชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตพืชอินทรีย์ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลวอแก้ว อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง จำนวน 50 คน เครื่องมือในการวิจัยได้แก่แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ผลเชิงเนื้อหา พบว่า 1) การสร้างนวัตกรรมของชุมชนเป็นต้นแบบเกษตรอินทรีย์เริ่มมีผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง มีการบริหารจัดการกลุ่มก่อให้เกิดเป็นองค์ความรู้นวัตกรรมด้านเกษตรอินทรีย์ นำความรู้มาถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 2) แนวทางการขยายผลในพื้นที่อื่นพบว่า ชุมชนวอแก้วมีศูนย์การเรียนรู้จำนวน 10 ศูนย์โดยแต่ละศูนย์ฯ มีจุดเด่นที่แตกต่างสามารถเลือกวิธีการที่เหมาะสมนำไปต่อยอดและประยุกต์ตามบริบทและสภาพแวดล้อมของแต่ละพื้นที่ได้และ 3) องค์ความรู้ใหม่เกิดจากการทดลองทำด้วยตนเองจนประสบความสำเร็จเกิดเป็นความชำนาญแล้วรู้จริงในเรื่องนั้นและถ่ายทอดองค์ความรู้นั้นให้ผู้อื่นเป็นแบบอย่าง รวมถึงมีการสร้างแรงจูงใจ โดยต่อยอดพัฒนาเป็น “วอแก้วโมเดล”

Article Details

How to Cite
[1]
สุริยะสาร ฐ., ทองลาด พ. และ เลาลลิต เ. 2021. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มเกษตรกรด้วยนวัตกรรมด้านเกษตรอินทรีย์ ในตำบลวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 9, 3 (ส.ค. 2021), 377–389.
บท
บทความวิจัย

References

Chaimongkol, T. and B. Limnirankul. 2013. Approaches toward scaling up organic farming of farmers at Po Thong Charoen village, Cherng Doi sub-district, Doi Saket district, Chiang Mai province. Agricultural Science Journal 44(2)(Suppl.): 153-156. (in Thai).

Glomthongcharoen, K. 2017. Quality of life among organic agriculture farmers Chiang Mai province. Journal of Management Science Chiangrai Rajabhat University 12(1): 59-90. (in Thai).

Jai-aree, A. 2018. Guidelines to promote organic agriculture to food security and safety for community: Reflection from the operating sector. Silpakorn University Journal 38(5): 1-17. (in Thai).

Jiwju, N., T. Siboonnun, C. Sirikitsathien, C. Nuamai and P. Buapuen. 2015. Reproducing effective lesson on sufficiency economy for developing Wangnumdaeng community, Moo 5, Thamkeua sub-district, KlongKlung district, Kamphaengphet province. The 2nd Kamphaeng Phet Rajabhat University National Conference. December. 210-227. (in Thai).

Parnpeachra, S. 2015. Indigenous knowledge of organic agriculture in Chachoensao province. Bangkok; Dhuradij Pundit University. November. 72p. (in Thai).

Phuanpoh, Y. and S. Pooripakdee. 2019. The approach of farm café management followed the new theory of agriculture of the farm café entrepreneurs in Phra Nokon Si Ayutthaya province. Romphuek Journal 38(1): 8-20. (in Thai).

Prapatigul, P. and L. Sriphayamnoi. 2016. Administrative management of organic livestock farmer groups in Khon Kaen province. Khon Kaen Agricultural Journal 44(1): 589–594. (in Thai).

Nuntaboot, K. 2018. Community research using rapid ethnographic community assessment process. 1st ed. Bangkok : Thai Health Promotion Foundation, Healthy Community Strengthening Section: 15 – 25. (in Thai).

Ratneetoo, B. 2012. Organic fertilizer improves deteriorated soil. Princess of Naradhiwas University Journal 4(2): 115-127. (in Thai).

Ruthamnong, S. 2018. Geo-information knowledge propagation in conservation and management of natural and cultural resources, Khlong Suan Mak Basin, Kamphaeng Phet province. Journal of Community Development and Life Quality 6(2): 427–438. (in Thai).

Suamuang, T. and Y. Munkratok. 2018. Lessons learned from the development process of organic agriculture in Ban Khao Din, Khlong Hat district, Sa Kaeo Province. Thai Journal of Pharmacy Practice 10(1): 49 -59. (in Thai).