การดำเนินงานแก้ไขปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้: กรณีศึกษาโครงการซ่อมแซมบ้านเรือนราษฎรที่ยากจนและด้อยโอกาส จังหวัดชายแดนภาคใต้

Main Article Content

พิสิฐ โอ่งเจริญ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานโครงการซ่อมแซมบ้านเรือนราษฎรยากจนและด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) ศึกษาผลการประเมินโครงการซ่อมแซมบ้านเรือนราษฎรยากจนและด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการดำเนินงานโครงการซ่อมแซมบ้านเรือนราษฎรยากจนและด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนภาคใต้ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ครอบครัวราษฎรยากจนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ตกเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ที่ผ่านการคัดเลือกบ้านเรือนราษฎรยากจนฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องแบบเฉพาะเจาะจง จากผลการศึกษาพบว่า 1) สามารถช่วยเหลือปรับปรุงซ่อมแซมที่อยู่อาศัยให้แก่ประชากรเป้าหมายซึ่งเป็นราษฎรยากจนและด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 1,988 หลัง คิดเป็นร้อยละ 100 2) ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพประชากรเป้าหมายในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในภาพรวมอยู่ในระดับ             ปานกลาง และ 3) ได้รูปแบบการดำเนินงานโครงการซ่อมแซมบ้านเรือนราษฎรที่ยากจนและด้อยโอกาสจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

How to Cite
[1]
โอ่งเจริญ พ. 2020. การดำเนินงานแก้ไขปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้: กรณีศึกษาโครงการซ่อมแซมบ้านเรือนราษฎรที่ยากจนและด้อยโอกาส จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 9, 1 (ก.ย. 2020), 14–26.
บท
บทความวิจัย

References

Bilheem, N., S. Jitpiromsri and K. Hongchayangkool. 2017. The scope of quality of life of the people affected by the unrest in the three southern border provinces: A case study of Raman district, Yala province. Al-Nur Journal of Graduate School, Fatoni University 12(23): 95-105. (in Thai)

Boonsiri, A. 2016. Livelihoods of families affected by the unrest in the special development region, southern border. Journal of Humanities and Social Sciences, Thaksin University 11(1): 237-254. (in Thai)

Che-tae, A. 2017. People's perspectives towards operation of government officers in three southern border provinces. Al-Hikmah Journal, Fatoni University 7(13): 15-24. (in Thai)

Kananurax, R. 2017. Development a mode of sustainable community’s peace building management in the three southernmost provinces. Journal of Southern Technology 10(1): 111-120. (in Thai)

Monkongpitukkul, S., S. Thamrongthanyawong, P. Sahapattana and S. Jitpiromsri. 2016. Conflict resolution in the 3 southern border provinces of Thailand: Policy process and outcomes. Al-Hikmah Journal, Fatoni University 6(12): 35-53. (in Thai)

Piyasiripon, N. 2018. Multicultural communities in the midst of nationalism discourse in deep south of Thailand. Ratthaphirak Journal 60(2): 58-72. (in Thai)

Solgosoom, S. and P. Pothisan. 2018. The King Rama IX’s wisdom and the educational development. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University 4(Supplement): 9-21. (in Thai)

Songsom, A. 2020. Creation of social network and applying sufficiency economy philosophy toward balanced scorecard of small and medium enterprises in Songkhla province. Journal of Community Development and Life Quality 8(1): 206-213. (in Thai)

Srichai, C. 2018. Problem solving guidelines in three southern border provinces areas of Thailand. The Golden Teak: Humanity and Social Science Journal (GTHJ.) 24(Special Issue): 1-11. (in Thai)