ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเขตเมือง และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กรณีศึกษาเทศบาลตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

สามารถ ใจเตี้ย
ณัทธร สุขสีทอง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบนฐานภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา และ 2) พัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุเขตเทศบาลตำบลสุเทพ  อำเภอเมืองเชียงใหม่  จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 265 ครัวเรือนและผู้มีส่วนได้เสีย จำนวน 19 คน  เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า ระดับการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุรวมเฉลี่ยระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.90) ทั้งนี้ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านการสร้างเสริมสุขภาพจิตผ่านพิธีกรรมและการสร้างเสริมสุขภาพกายด้วยการบริโภคอาหารพื้นบ้านเป็นการสะท้อนทางเลือกในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ  ผู้มีส่วนได้เสียยังเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนโดยการพัฒนากิจกรรมที่เกี่ยวข้อง

Article Details

How to Cite
[1]
ใจเตี้ย ส. และ สุขสีทอง ณ. 2020. ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเขตเมือง และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กรณีศึกษาเทศบาลตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 8, 3 (ส.ค. 2020), 581–591.
บท
บทความวิจัย

References

Banthoengsuk, H. 2018. Local wisdom on rituals and beliefs related to caring mental health of elderly people in Ponemuang community at Ubon ratchathani province. UBRU Journal of Public Health Research, Ubon Ratchathani Rajabhat University 6(2): 30–42. (in Thai)

Bista, A. and S. Joshi. 2015. Health problems of elderly residing in urban areas, Kathmandu. Journal of Institute of Medicine 37(2): 56–61.

Glicksman, A. 2018. Empowering older adults: Opportunities and challenges. Innovation in Aging 2 (Suppl 1): 370–371.

Hatcher, D., E. Chang, V. Schmied and S.

Garrido. 2019. Exploring the perspectives of older people on the concept of home. Journal of Aging Research, doi: 10.1155/2019/267968 0

Jaitae, A. 2015. Relationship among self-care behaviors of the elderly in urban areas regarding their mental health. Bulletin of Suanprung 31(1): 38-48. (in Thai)

Jaitae, S., K. Kaewdang, J. Junta and C.

Vipavin. 2018. The community potential on socials health promotion of elder people’s according to buddhism doctrines in Saluang subdistrict administrative organization, Maerim district, Chiang Mai province. Journal of MCU Nakhondhat 5(3): 730-744. (in Thai)

Mehrsadat, M. and Mahnaz,S. (2018). Relationship between self-care behaviors and health literacy among elderly women in Iran 2015. Electron Physician. 10(3): 6462–6469.

Wongkwanklom, M. (2018). Local Wisdom in the Mental Health Care among Older People Living in Isan Cultural Society. Journal of Humanities and Social Science Nakorn Phanom University (The 25stBoromarajonani College of Nursing, Nakhon Phanom): 140 -147. (in Thai)

Suksritong, N. 2017. Lanna local wisdom for health promotion of elderly in Saluang subdistrict administrative organization, Maerim district, Chiangmai province. Christian University of Thailand Journal 23(2): 164-173. (in Thai)

Thongmee, O. 2016 .The cultural of Lanna food: The develop to creative economy. Journal of Fine Arts Research and Applied Arts 2(1): 25-54. (in Thai)

Thongsrikate, I., D. Ayuwat and S. Chaytaweep. 2019. Self - reliance of elderly migrants moving into urban area. Journal of Community Development and Life Quality 7(3): 295–305. (in Thai)

Wised, S. 2018. The life quality of elderly in Nongyat subdistrict municipality, Amphoe Muang, Nakhon Phanom province. UMT-POLY Journal 15(2): 441-450. (in Thai)