ความสุขของการท่องเที่ยวในชุมชนบ้านมอญ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

กฤษณ อร่ามศรี
จันทร์ธิมา สมศักดิ์
ณัชชา วีรวัฒนโยธิน
อําพร กันทา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสุขของคนในชุมชนที่มีต่อการท่องเที่ยว และ 2) เสนอแนวทางการพัฒนาความสุขของคนในชุมชนต่อการท่องเที่ยว ผลการศึกษาพบว่า ความสุขของคนในชุมชนต่อการท่องเที่ยวชุมชนบ้านมอญอยู่ในระดับมาก คนในชุมชนมีความสุขทั้งทางกายและทางใจที่ดี มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ได้รับการบริโภคอาหารถูกสุขลักษณะ มีปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ อีกทั้งการอยู่ร่วมกันในชุมชนอย่างสันติสุข มีความประพฤติที่ดีงาม มีระเบียบวินัยในการอยู่ร่วมกัน มีความสัมพันธ์กันแบบครอบครัวและแบบเครือญาติ อีกทั้งมีการรวมกลุ่มภายในชุมชน ช่วยให้เกิดการพัฒนาอาชีพ ก่อให้เกิดรายได้ที่เพียงพอต่อการดำรงชีวิต จากการวิเคราะห์ข้อมูล จึงมีการเสนอแนวทางการพัฒนาคือ ผู้นำและเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวแก่ชุมชน และพัฒนาการประกอบอาชีพเสริม อีกทั้งควรมีการใกล้ชิดกับชุมชนมากขึ้น และควรมีหลักในการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลนำไปสู่ความสุขที่ยั่งยืน

Article Details

How to Cite
[1]
อร่ามศรี ก., สมศักดิ์ จ., วีรวัฒนโยธิน ณ. และ กันทา อ. 2020. ความสุขของการท่องเที่ยวในชุมชนบ้านมอญ อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 8, 3 (ก.ย. 2020), 640–648.
บท
บทความวิจัย

References

Chunsong, S., D. Booton, S. Banchirdrit and B. Sriharan. 2015. The development of social capital to establish a strong community. VRU Research and Development Journal Humanities and Social Science 10(3): 273-283. (in Thai)

Loetyingyot, S. 2017. The potential development of community leader for poverty reduction of the community in the place of civilization Non-Soong Nakhon Ratchasima with the philosophy of sufficiency economy. Journal of Humanities and Social Sciences 25(48): 177-202. (in Thai)

Muijeen, K. 2016. Creating happiness with positive psychology. Thai Journal of Science and Technology 24(4): 473-681. (in Thai)

Seligman, Martin E. P. 2004. “Can Happiness be Taught?” Daedalus Journal of the American Academy of Arts & Science, Spring. : 82-83

Somrite, W. and N. Thaiprasert. 2014. Vocation and happiness: Case study Phayao province. Chiang Mai University Journal of Economics 18(1): 65-83. (in Thai)

Tumlangka, S. 2013. Local wisdom - based model to build up community strength in Chiang Rai province. Journal of Education Naresuan University 15(2): 58-66 (in Thai)

Turesout, T. 2013. Gross community happiness index following the philosophy of sufficiency economy. Journal of Social Sciences and Humanities 39(1): 209-220 (in Thai)

Wongsrikaew, K., J. Ruanggoon and S. Chunprasert. 2017. Development of strong community: A case study of Poonbumphen community, Phasi Charoen district, Bangkok. Journal of Community Development and Life Quality 5(1): 46-57. (in Thai)