คติอานิสงส์การสร้างพระพุทธรูปในพะเยา
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์คติอานิสงส์การสร้างพระพุทธรูปในพะเยา ในลักษณะของความเชื่อในพุทธศาสนาและพัฒนาการทางด้านรูปแบบศิลปกรรมของพระพุทธรูปหินทรายพะเยาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19 ถึง พุทธศตวรรษที่ 22 เมื่อล้านนาตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า
ผลการศึกษาพบว่า มีการแบ่งความเชื่อของคติการสร้างพระพุทธรูปตั้งแต่คติการสร้างพระพุทธรูปในระดับสากล ระดับภูมิภาค (ล้านนา) และในระดับเมือง (พะเยา) พบว่ากรณีเมืองพะเยามีคติการสร้างพระพุทธรูปมีความเกี่ยวข้องทางด้านแนวคิดทางการเมืองนั้นคือแนวคิดจักรพรรดิราช ที่มาจากแนวคิดอานิสงส์จึงส่งผลให้เกิดการพัฒนาทางด้านรูปแบบศิลปกรรมที่มีแนวคิดทางพุทธศาสนาและการเมืองรวมเข้าอยู่ด้วยกัน
References
กรมศิลปากร. (2551). ศิลปะเมืองเชียงแสน. กรุงเทพมหานคร : รุ่งศิลป์การพิมพ์.
ฐานพระพุทธรูปคำต่อนสร้าง พย.81. จารึก.
ฐานพระพุทธรูปซาวจันสร้าง พย.80. จารึก.
ฐานพระพุทธรูปซาวหมุกสร้าง พย.41. จารึก.
ฐานพระพุทธรูปเถ้าเอ้ยสร้าง พย.79. จารึก.
จารึกฐานพระพุทธรูปแผ่นอิฐร้อยบุญ พย.33. จารึก.
ฐานพระพุทธรูปพ่อบุญสร้าง พย.60. จารึก.
ฐานพระพุทธรูปพันชัมหล้าสร้าง พย.82. จารึก.
ฐานพระพุทธรูปเมียนายร้อยสวนลิสร้าง พย.76. จารึก.
ฐานพระพุทธรูปสามเจ้าสร้าง พย.64. จารึก.
ปฐม หงส์สุวรรณ. (2554). ตำนานพระพุทธรูปล้านนา. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. (2538). ประวัติศาสตร์เมืองพะเยาจากจารึกเมืองพะเยา ในประชุมจารึกเมืองพะเยา. กรุงเทพมหานคร : พิฆเนศพริ้นท์ติ้งเซนเตอร์.
พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์. (2560). พระพุทธศาสนาในอาณาจักรล้านนา. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2564, แหล่งที่มา http://asc.mcu.ac.th/ascadmin/wp-content/uploads/shwcp_19/63-files/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B2.pdf
ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2563). พระพุทธรูปหินทรายสกุลช่างพะเยา. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับเสริมการเรียนรู้ เล่ม 8. (2550). โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.พ.
สำเนาไมโครฟิล์มคัมภีร์ใบลาน. เรื่องอานิสงส์สร้างพระเจ้า ต้นฉบับ วัดศรีสุพรรณ อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. จำนวน 1 ผูก 14 หน้าลาน ไมโครฟิล์ม สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เลขที่ไมโครฟิล์ม 07 060 03 10.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2538). ประชุมจารึกเมืองพะเยา. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
สุรพล ดำริห์กุล. (2561). ประวัติศาสตร์และศิลปะล้านนา. นนทบุรี : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.
อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว. (2554). พระพุทธรูปในล้านนา. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์ตะวันเหนือ.
เอนก มากอนันต์. (2550). แนวคิดเรื่องจักรพรรดิราชของชนชั้นนำไทย ตั้งแต่ พ.ศ.2172-2394. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มติชน.