วัฒนธรรมองคการของโรงเรียนกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1
คำสำคัญ:
-บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) วัฒนธรรมองคการของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 2) คุณภาพชีวิตในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 และ 3) ความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมองคการของโรงเรียนกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 กลุมตัวอยาง คือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 จำนวน 97 โรง ผูใหขอมูลโรงเรียนละ 2 คน ประกอบดวย ผูอำนวยการหรือรองผูอำนวยการสถานศึกษาหรือผูปฏิบัติราชการแทนและครูผูสอน รวมทั้งสิ้น 194 คน เครื่องมือการวิจัยคือ แบบสอบถามเกี่ยวกับวัฒนธรรมองคการของโรงเรียนตามแนวความคิดของแพตเตอรสันและคณะ (Patterson and other) คุณภาพชีวิตในการทำงานของครูตามแนวคิดของวอลตัน (Walton) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คาความถี่ คารอยละ คามัชฌิมเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน
ผลการวิจัยพบวา
1) วัฒนธรรมองคการของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 โดยภาพรวม และ
รายดานอยูในระดับมาก โดยเรียงลำดับคามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปนอย ดังนี้ คือ การบริหารอาคารสถานที่และการตัดสินใจระดับโรงเรียนดวยหลักประชาธิปไตย ภาวะผูนำ ความมีเสถียรภาพของบุคลากร การจัดทำโครงสรางหลักสูตรและการจัดองคกร การพัฒนาบุคลากร การมีสวนรวมและการสนับสนุนของผูปกครอง การไดรับยกยองในคุณภาพทางวิชาการ การจัดการเวลาเรียนใหมากที่สุด การไดรับความสนับสนุนจากองคกรทองถิ่น ความรวมมือในการวางแผนและความสัมพันธในหมูคณะความรูสึกเปนสวนหนึ่งของชุมชน การมีเปาหมายและมีความคาดหวังที่ชัดเจน และความเปนระเบียบ และความมีวินัย
2) คุณภาพชีวิตในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 โดยภาพรวมและ
รายดานอยูในระดับมาก โดยเรียงลำดับคาคามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปนอย ดังนี้ คาตอบแทนหรือเงินชดเชยที่เพียงพอและเปนธรรม สิ่งแวดลอมในการทำงานที่ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย โอกาสในการใชและพัฒนาศักยภาพของความเปนมนุษย ความกาวหนาและความมั่นคงในงาน การบูรณาการทางสังคมภายในองคกรที่ทำงาน แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิและหนาที่ของคนภายในองคกรที่ทำงาน ความสัมพันธระหวางงานกับชีวิตโดยรวม และความเกี่ยวเนื่องของชีวิตการทำงานกับสังคม
3) วัฒนธรรมองคการของโรงเรียนกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความสัมพันธกันสูง ในลักษณะคลอยตามกัน
THE ORGANIZATONAL CULTURE OF SCHOOL AND TEACHER’S QUALITY OF WORKING
LIFE UNDER NAKHONPATHOM PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFFICE 1
The purposes of this research were to identify 1) the organizational culture of school under the Nakhonpathom Primary Educational Service Area Office 1, 2) the teacher’s quality of working life under the Nakhonpathom Primary Educational Service Area Office 1 and 3) the relationship between the organizational culture of school and the teacher’s quality of working life under the Nakhonpathom Primary Educational Service Area Office 1. The samples were 97 primary schools. The 2 respondents in each school were, a director or an assistant or a deputy director and a teacher total of 194 respondents. The research instrument was a questionnaire which was the organizational culture of school based on conceptual of patterson and other and the teacher’s quality of working life based on concept of Walton. The statistics use in data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson’s product-moment correlation coefficient analysis.
The findings were as follows :
1) The organizational culture of school under the Nakhonpathom Primary Educational Service Area Office 1, as a whole and as an individual, were at a high level. In order arithmetic mean from maximum to minimum were as follows; school site management and democratic decision making, leadership, staff stability, curriculum articulation and organization, staff development, collaborative planning and collegial relationships, school wide recognition of academic success, maximized learning time, district support, collaborative planning and collegial relationships, sense of community, clear goals and high
expectations commonly shared and order and discipline.
2) The teacher’s quality of working life under the Nakhonpathom Primary Educational Service Area Office 1, as a whole and as an individual, were at a high level. In order arithmetic mean from maximum to minimum were as follows; adequate and fair compensation, safe and healthy working condition, immediate opportunity to use and develop human capacity, opportunity for continual growth and security, social integration in the work organization, constitutional right and duty in the work organization, work and the total life space and social relevance of work life.
3) The relationship between the organizational culture of school and teacher’s quality of working life under the Nakronprathom Primary Educational Service Area Office 1, was found correlated as a whole were at a high level at .05 level of significance which was positive correlated.