การนิเทศการสอนของครูในโรงเรียนอนุบาลทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐณิชา กอวิจิตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • นุชนรา รัตนศิระประภา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การนิเทศการสอน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ 1) ความตองการรับแบบการนิเทศการสอนของครูในโรงเรียนอนุบาลทับสะแก
จังหวัดประจวบคีรีขันธ 2) แนวทางการพัฒนาการนิเทศการสอนตามความตองการของครูในโรงเรียนอนุบาลทับสะแก
จังหวัดประจวบคีรีขันธ ประชากรในการวิจัยคือครูโรงเรียนอนุบาลทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ จำนวนทั้งสิ้น 17 คน
เครื่องมือที่ใชวิจัย คือแบบสำรวจและแบบสัมภาษณกึ่งโครงสรางเกี่ยวกับการนิเทศการสอนตามแนวคิดของกลิกแมน กอรดอนและรอสกอรดอน (Glickman, Gordon, and Ross Gordon 2001: 125-128) สถิติที่ใชในการวิจัยคือ คาความถี่ คารอยละ และการวิเคราะหเนื้อหา
ผลการวิจัยพบวา
   1. ความตองการรับแบบการนิเทศการสอนของครูในโรงเรียนอนุบาลทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีความตองการแบบการนิเทศการสอน 3 แบบ เรียงลำดับคือ แบบรวมมือ แบบไมชี้นำ และแบบชี้นำใหขอมูล
   2. แนวทางการพัฒนาการนิเทศการสอนตามความตองการของครูในโรงเรียนอนุบาลทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ
มีทั้งสิ้น 12 แนวทาง ประกอบดวย 1) แบบรวมมือมี 4 แนวทางคือ (1) มีความจริงใจในการนิเทศ มีความยุติธรรม และมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน (2) ติดตามการดำเนินงานและแกปญหาการนิเทศ (3) จัดทำแฟมประวัติปญหาการนิเทศการสอนที่พบและแนวทางการแกปญหา (4) สนับสนุนงบประมาณในการทำกิจกรรมที่เสริมสรางความรูในดานการเรียนการสอนใหกับครู 2) แบบไมชี้นำมี 3 แนวทางคือ (1) เปดโอกาสใหครูแสดงความคิดเห็นในเรื่องตางๆ (2) สนับสนุนงบประมาณและเปนที่ปรึกษาที่ดีใหกับครู (3) มีการบำรุงขวัญ กำลังใจ และมีสวัสดิการในการทำงานใหครูผูสอนในโรงเรียน และ3) แบบชี้นำใหขอมูลมี 5 แนวทางคือ (1) สรางบรรยากาศที่ดีที่เอื้อตอการเรียนรู (2) ใหความชวยเหลือ ใหคำแนะนำ ใหคำปรึกษาในการนิเทศอยางเปนระบบ (3) เชิญวิทยากร ผูเชี่ยวชาญมาใหความรูในเชิงปฏิบัติการสอนและประเมินผล (4) จัดใหมีการศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อเพิ่มประสบการณแกครู และ (5) สนับสนุนงบประมาณในการผลิตสื่อใหกับบุคลากรครูในโรงเรียน

THE TEACHERS’ INSTRUCTIONAL SUPERVISION OF ANUBAN THAPSAKAE SCHOOL
IN PRACHUAPKHIRIKHAN PROVINCE

The research purposes were to identify; 1) the teachers’ need in instructional supervision of Anuban Thapsakae School, Prachuapkhirikhan and 2) the teachers’ need in instructional supervision guidelines development of Anuban Thapsakae School, Prachuapkhirikhan.The population were 17 teachers of Anuban Thapsakae School, Prachuapkhirikhan.The research
instruments used were a need survey and a semi-structured interview about the teachers’ need in instructional supervision which based on Glickman, Gordon and Ross Gordon’s concept.The research statistics for analyzing the data were frequency, percentage, and content analysis.

The research findings revealed that :
   1. There were 3 styles of teachers’ need in instructional supervision of Anuban Thapsakae School, Prachuapkhirikhan.They were collaborative behaviors, nondirective behaviors, and directive informational behaviors.
   2. There were 12 guidelines for teachers’ need in instructional supervision development of Anuban Thapsakae School, Prachuapkhirikhan which were as follow : 1) The collaborative behaviors style consist of 4 guidelines; (1) to supervise with sincere ,justice and high standard, (2) to monitor and problem solving (3) to provide the instructional supervision profile and how to problem solutions, and (4) to support more budget 2) The nondirective behaviors style consist of 3 guidelines; (1) to listen and share the opinions, (2) to support more budget and would like to be a good supervisor, and (3) to enhance the motivation and welfare 3) The directive informational behaviors style consist of 5 guidelines;(1) to enhance good environment for learning, (2) to support, advise or consult with good supervision system, (3) to invite the expertises for extend the much more supervision knowledge and evaluation, (4) to intern the personnel with field trip or practicum, and (5) to support budget for producing much more materials.

Downloads