The แนวทางการพัฒนาการนิเทศการศึกษาของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายคุณภาพการศึกษา บางสะพานน้อย 3 (ไชยราช) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1
การนิเทศการศึกษา
คำสำคัญ:
การนิเทศการศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การนิเทศการศึกษาของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายคุณภาพการศึกษาบางสะพานน้อย 3 (ไชยราช) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1
2) แนวทางการพัฒนาการนิเทศการศึกษาของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายคุณภาพการศึกษาบางสะพานน้อย 3 (ไชยราช) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือผู้บริหารและครู จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา ตามแนวคิดของ กลิคแมน, กอร์ดอนและรอสกอร์ดอน (Glickman, Gordon and Ross Gordon) ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
- การนิเทศการศึกษาของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายคุณภาพการศึกษาบางสะพานน้อย 3 (ไชยราช) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากโดยเรียงโดยเรียงลำดับมัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านการพัฒนางานกลุ่ม ด้านการให้ความช่วยเหลือแก่ครูโดยตรง ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการพัฒนาหลักสูตร และด้านการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
- แนวทางการพัฒนาการนิเทศการศึกษาของโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายคุณภาพการศึกษาบางสะพานน้อย 3 (ไชยราช) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 พบว่า โรงเรียนควรให้โอกาสครูให้มีบทบาทหน้าที่เป็นทั้งผู้นำและผู้ตามในการทำงานกลุ่ม ให้การส่งเสริมสนับสนุนและให้บริการครู มีการสังเกตการสอน ใช้กระบวนการ PLC มาช่วยในการนิเทศการสอน ให้ความสำคัญเรื่องการจัดทำแผนพัฒนาตนเองของครู ส่งเสริมให้ครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร และส่งเสริมสนับสนุนให้ครูนำกระบวนการวิจัยมาใช้ในการแก้ปัญหาและแนะแนวทางในการทำวิจัยในชั้นเรียนที่ถูกต้องแก่ครู ควรใช้เกณ์การประเมิน PA มาช่วยในการนิเทศการศึกษาด้านการทำวิจัยในชั้นเรียน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุ, 2545.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. ข้อมูลนักเรียน. (25 มิถุนายน 2564)
จริยา แตงอ่อน. “รูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิการสอนของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร”(วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2559.
ชาญชัย อาจิณสมาจาร. การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : จงเจริญการพิมพ์, 2548.
โชคระวี เจียมพุก. “กระบวนการนิเทศของผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลนครปฐม” สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2563.
ณัฏฐณิชา กอวิจิตร. “การนิเทศการสอนของครูในโรงเรียนอนุบาลทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์” การค้นคว้าอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2557.
พรรณภา มหาวิชา. “กระบวนการนิเทศของผู้บริหารโรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล สังกัดกรุงเทพมหานคร”การค้นคว้าอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2557.
ไพโรจน์ กลิ่นกุหลาบ. การนิเทศการศึกษา:ทฤษฎีและการปฏิบัติ (กรุงเทพฯ: ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2542.
เมธินี สะไร.“การนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มสหพัฒนา อำเภอรือเสาะ” การค้นคว้าอิสระ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 2560.
ละออง รักนา “บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการนิเทศภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7” สิกขาวารสารศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล, 2559.
วรกมล น้อยพิทักษ์.“บทบาทการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มเครือข่ายไทรโยค-ลิ่นถิ่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต” (สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2561.
วรดนู หนูทอง, กระบวนการนิเทศการศึกษาของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายบางแพ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 (สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2564.
วัชรา เล่าเรียนดี. นิเทศการสอน, พิมพ์ครั้งที่ 9 นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2554.
วิชชุดา เขียวชะอุ่ม “การดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนสังกัดสหวิทยาเขตทัพหลวงแจงงาม” สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2561.
วิไลลักษณ์ ป้องญาติและประหยัด ภูมิโคกรักษ์,“การศึกษาบทบาทการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5” วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชาสีมานครราชสีมา, 2558.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค, 2560.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2561.
สิริขวัญ สุพรรณคง. “การนิเทศการศึกษาของโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 1” สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559.
อนงค์ จันทร์หอม. “กระบวนการนิเทศการศึกษาของโรงเรียนในกลุ่มตำบลยางหัก อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี” สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2560.
อัญชลี โพธิ์ทอง. นิเทศการศึกษา (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2549
อิสรนันท์ ศิโรรัตนพาณิชย์. “การนิเทศในโรงเรียนสกลวิทยา” วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559.
Best, John W. Research in Education, 2nd ed Englewood cliffs, New Jersey : Prentice-Hall, 1970.
Glickman, Carl D. Developmental Supervision: Alternative Practice for Helping Teachers Improve Instruction. Washington D.C. : Association for Supervision and Curriculum Development, 1981.
.Supervision of Instruction: A Developmental Approach, 2nd ed. Massachusetts: Allyn and Bacon, Inc., 1990.
Glickman, Carl D. Stephen P. Gordon and Jovita M. Ross-Gordon, Supervision and Instructional Leadership: A Developmental approach, 7th ed. (Boston: Allyn & Bacon, 2007), 135-148.
Likert, Rensis. The Human Organization (New York : Mc – Hill, 1967).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.